เรียน คุณแม่ที่หาโรงเรียนสำหรับลูก
ต้องขอขอบคุณ และรู้สึกยินดีอย่างยิ่ง ที่คุณแม่ให้ความสนใจในรายละเอียดและซักถามเอาจริงเอาจังกับการดูแลลูก ก่อนจะตอบคำถาม เรียงไปในแต่ละข้อ จึงอยากนำเสนอเป็นภาพรวมของโรงเรียน เป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนคือ
การบริหารจัดการงานของโรงเรียน ส่วนที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งคือ เรื่องหลักสูตร โดยโรงเรียนฯเราเป็นโรงเรียนนานาชาติ ซึ่งใช้หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ของประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นหลักสูตรสถานศึกษา สิ่งนี้ต้องตรงกับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียน ซึ่งหากท่านได้เคยเยี่ยมชมโรงเรียนอื่นๆ ที่ไม่ใช่โรงเรียนนานาชาติ ก็จะต้องเป็นหลักสูตรพื้นฐานการศึกษาภาคบังคับ หากโรงเรียนใดปรับเอาวิธีการที่เป็น นวัฒกรรมซึ่งหลากหลายในปัจจุบันไปใช้ ก็จะเป็นเพียงการนำเอาวิธีการ หรือ นวัฒกรรม ไปปรับใช้ในสถานศึกษาเท่านั้น แต่ตัวหลักสูตรยังเป็นหลักสูตรพื้นฐานฯ ตามใบอนุญาตโรงเรียนสามัญฯ... ทั่วประเทศไทย
เรื่องของหลักสูตร ทำไมถึงบอกว่าสำคัญยิ่ง ก็เพราะว่า หลักสูตร จะเป็นกรอบการทำงานของโรงเรียน เป็นภารกิจผูกพัน ของผู้ให้บริการทางการศึกษาว่า นักเรียนจะเรียนอะไร มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ และเกณฑ์การประเมินผล คือ อะไร มีกฎเกณฑ์ ตามกฎหมายอย่างชัดเจน
หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ก็เช่นกัน เป็นหลักสูตรที่มีลักษณะเป็น Spiral curriculum จึงเรียนเสริมเพิ่ม และลึกขึ้นไปเรื่อยๆ เป็นหลักสูตรแบบบูรณาการ ไม่ใด้แยกสอนเป็นชิ้นๆ อีกจุดเด่นหนึ่งคือ อุปกรณ์ การเรียนการสอน ที่มีความลึกซึ้ง ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจ เป็นอุปกรณ์ที่ดึงดูดอยากหยิบจับมาเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งต่างกับ “ของเล่น” เพราะของเล่นดึงดูดและน่าสนใจ แต่ไม่ใด้มีลักษณะ “ต่อยอด” การเรียนรู้แบบอุปกรณ์การเรียนการสอน ของ มอนเตสโซรี่
นอกเหนือจาก หลักสูตร และอุปกรณ์การเรียนการสอนแล้ว คุณครูผู้จบหลักสูตร “ครูมอนเตสโซรี่”ก็เป็นส่วนสำคัญในการสร้างบรรยากาศการเรียนการสอน การบริหารจัดการในห้องเรียน ซึ่งต้องมีความเข้าใจในหลักปรัชญามอนเตสโซรี่ ที่คุณครูมอนเตสโซรี่ยึดถืออย่างมั่นคง ไม่ว่า “Respect the Child” ”Absorbent mind ” และ “Sensitive Period” ซึ่งเป็น ” แก่นความจริงที่เป็นสากล ” ในเชิงพัฒนาการเด็ก จิตวิทยาเด็ก ซึ่งคุณครูทุกคน ต้องเรียนเมื่อผ่านหลักสูตรครูมา ดังนั้นในห้องเรียน มอนเตสโซรี่ จึงมีการ ”Prepared Environment” และเรียกครูว่า ”Directress” คือผู้อำนวยการ ความพร้อมสำหรับการเรียนรู้ สำหรับเด็กๆ เตรียมพร้อมในทุกสิ่ง ทั้งอุปกรณ์การเรียนการสอน พร้อมทั้งตั้งอยู่ในระดับที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เอื้อให้เด็กสร้างแรงจูงใจ ในการเรียนรู้อย่าง “ธรรมชาติ” ซึ่งมีแรงขับ “การแสวงหา” การเรียนรู้ ความอยากรู้อยากเห็น ในธรรมชาติ ในตัวเด็กๆ ทุกคน อยู่แล้ว ระบบโรงเรียนบางระบบต่างหากที่บั่นทอน “ธรรมชาติการแสวงหาความรู้” ของเด็กจนหมดสิ้น กลายเป็นคนตัวเล็ก – ลีบ ลงไปทุกที ในขณะที่ระบบ มอนเตสโซรี่ นั้นเราเตรียมสิ่งแวดล้อม ให้พร้อมสำหรับการเรียนรู้ เราส่งเสริม “เสรีภาพภายใต้ขอบเขต” (Freedom with boundary) ดั้งนั้น ห้องเรียนของมอนเตสโซรี่จึงประกอบด้วย ภารกิจของคุณครูที่อำนวยความพร้อม ประกอบกับหลักสูตรฯ , อุปกรณ์การเรียนการสอน , บรรยากาศที่เอื้ออำนวยภายใต้การจัดการ จึงสามารถส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ในจังหวะก้าวของตัวเอง เป็นรายบุคคล ได้จริงสำหรับเด็กทุกๆคน ซึ่ง ”Set for success” สิ่งที่นักเรียนได้รับคือ เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน ไม่ได้รู้สึกยากเย็นในการเรียนรู้ เด็กจึงเกิด คุณสมบัติที่เป็น ผู้มีความมั่นใจในตนเองได้จริง เรียนรู้ภายใต้ ศักยภาพของตัวเอง ในจังหวะที่ก้าวหน้า เร็ว-ช้า ต่างกันได้โดยปราศจากการเปรียบเทียบแข่งขัน มาเป็นรางวัลล่อใจ เพราะความสำเร็จและความสุข ที่เด็ก ได้นั้น เป็นความสุข ปลื้มปิติ “ภายใน” ของเด็กแต่ละคน ไม่จำเป็นต้องพึ่งพา “รางวัล” จากภายนอก
ขอกลับมาตอบคำถามทีละข้อ เลยนะคะ
1. คุณครูจะต้องรู้จักเด็กทุกคน อย่างดีในทุกรายละเอียด เพราะคุณครูจะเป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ และเป็นผู้เตรียมความพร้อม ให้เด็กใด้รับผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายอยู่ในใจของคุณครูที่อ้างอิงกับหลักสูตรอยู่ และคุณครูจะเป็นผู้อนุญาตให้ การดำเนินการเรียนรู้ของนักเรียน ดำเนินการไปโดย “เป็นไปเอง” คือเป็นธรรมธรรมชาติ เพราะเด็กเรียนรู้แบบซึมซับ “Absorb Every things without effort ” เด็กเรียนรู้เองจากอุปกรณ์การเรียนการสอน จากการแสวงหาความรู้ และเกิดความภาคภูมิใจที่ก่อเกิดขึ้น เด็กสัมผัสได้เอง ไม่ใช่การเรียนรู้แบบ “ผู้ให้-ผู้รับ” เด็กยิ่งได้รับ “อิสระ” มากเท่าไร่เด็กก็สามารถเป็นตัวของตัวเองได้มากขึ้นเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องมี “ผู้ควบคุม” ใด ๆ แต่หากเกิดประเด็นที่เด็ก ทำซ้ำสิ่งเดียว ไม่ใด้ทำงานกับชิ้นอุปกรณ์อื่นเลย (โดยปกติไม่เป็นเช่นนั้น) คุณครูก็จะเป็นผู้โน้มน้าว ให้นักเรียนเบนไปกับสิ่งอื่น เพื่อเตรียมเด็ก ให้ “ทั่วถึงพร้อมในทุก ๆ ด้าน” คุณครูต้องทำการสังเกตการณ์ และเก็บข้อมูลจดบันทึกทุกๆ สิ่งที่เกิดขึ้น ตลอดเวลา ที่อยู่กับเด็ก
การสังเกตการณ์ เพื่อจดบันทึกความก้าวหน้าของเด็ก เกิดขึ้นตลอดเวลา จนยืนยันผลสัมฤทธิ์ ไม่ใช่เฉพาะชิ้นงาน ซึ่งเป็น Finished products หรือ คะแนนจากการสอบ เป็นตัวยืนยัน หรือวัดผล ประเมินผลเด็กนักเรียน คุณครูจะเป็นผู้สนใจ ในรายละเอียด ตลอดกระบวนการ การเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ของผู้เรียนตลอดเวลา
2. ห้องเรียนแบบมอนเตสโซรี่ ต้องการให้เด็กเรียนรู้จากเด็กที่โตกว่า จึงมีการคละอายุ คือเน้นเป็นห้องเรียนแบบช่วงชั้น เด็กเล็กเรียนจากเด็กโต เด็กโตมีโอกาสแสดงตัวเป็นผู้นำในชั้นปีสุดท้าย ในช่วงชั้นนั้นยิ่งเสริมความเชื่อมั่นและเป็นตัวของตัวเองให้กับเด็กก่อนจบการศึกษาในช่วงชั้นนั้น ๆ และอย่างที่กล่าว ตอนต้นว่า การเรียนการสอนอยู่ในกรอบของหลักสูตร มี scope / sequence ของสาระการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน เพราะเด็ก ๆ จะทำงานตามศักยภาพเป็นรายบุคคล การ present material กับเด็ก (อย่างที่เห็นตอนคุณครูทำงานกับนักเรียน) จะเป็นช่วงเวลาที่สำคัญ เพราะเป็นช่วงที่สมาธิและความตั้งใจทั้งหมดอยู่ที่งาน (ซึ่งเป็นงานที่ไม่ยากเกินความสามารถเด็กและไม่ง่ายจนน่าเบื่อ แต่ต้องเป็นงานที่เร้าใจ และเด็กอยากทำ) เด็กจะได้ฝึกความมุ่งมั่นและใส่ใจในงานอย่างมีสมาธิเข้มฃ้นและเด็กเป็นผู้ได้ลงมือทำ (ไม่ใช่นั่งฟัง) จังหวะเมื่อไร เป็นช่วงเหมาะสม เมื่อเด็กพร้อมเป็นช่วงสำคัญยิ่ง เพราะคุณครูต้องการให้ทุกชิ้นงานถูกนำเสนอในเวลาที่เหมาะเจาะอย่างยิ่งให้เด็ก (1) ประทับใจ และ (2) ถัดมา อยากทำซ้ำเอง จน (3) เกิดความชำนาญ แล้วเปลี่ยนไปสู่ชิ้นอุปกรณ์ที่ก้าวหน้าต่อไป จนเกิดเป็นการกระบวนการเรียนรู้ และเหล่านี้คือสิ่งที่คุณครูต้องจดบันทึกความก้าวหน้าฃองเด็กตลอดเวลา
ความเป็นห่วงว่าคุณครูเห็นหรือไม่ การที่ต้องมีสมาธิกับนักเรียนคนหนึ่ง ของ Present material อยู่ นั่นคือทำไมจึงมีคุณครูผู้ช่วยอีกหนึ่งท่านในห้องเรียนเสมอทุก ๆห้องเรียนมอนเตสโซรี่ทั่วโลก ส่วนข้อที่ว่า เด็กเรียนรู้กับอุปกรณ์หมดทุกอย่างก่อน 3 ปี นั้นความจริงภายในห้องยังมีอุปกรณ์ที่คาบเกี่ยวกับงาน ป.1 อยู่ด้วย แต่คุณครูจะเป็นผู้ประเมินความพร้อมทั้งด้านวิชาการ และด้านสังคม หรือหากเด็กมีความพร้อมอย่างแท้จริง เด็กก็สามารถเลื่อนชั้นได้ แต่ถ้าเด็กช้ากว่าเกณฑ์ก็อาจต้องอยู่นานขึ้นเช่นกัน เราไม่ได้ประเมินจากแค่อายุเด็กแล้ว พิจารณาเลื่อนชั้น จะดูจากศักยภาพเด็กในทุกด้านอย่างที่กล่าวไว้
3. เด็กจะถูกโน้มน้าวให้ได้เรียนรู้อย่างรอบด้าน แต่ก็มีอิสระที่จะทำงานด้านใดบางด้านมากกว่าด้านอื่นด้วยเช่นกัน เพราะเด็กแต่ละคนย่อมมีอัตตลักษณ์ของตนเอง แต่คุณครูก็จะไม่ปล่อยให้ขาดพร่องในบางด้านด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะเด็กในระดับเล็ก ต้องเตรียมให้เด็กได้มีโอกาสเลือกอย่างแท้จริงเสียก่อนตัดสินว่า ศักยภาพสูงสุดในด้านใดจะถูกส่งเสริมเป็นพิเศษ
4. ส่วนตารางเวลาและการประเมินผลนักเรียนนั้น
เราเริ่มวันจันทร์ของสัปดาห์ เวลา 08.00 น. เคารพธงชาติพร้อมกันทั้งโรงเรียน นักเรียนอนุบาลได้เล่นสนามช่วงเช้าจนถึง เวลา 08.30 น. จึงเข้าเรียนและเริ่มด้วยกิจกรรมวงกลมรวมกันทั้งห้องก่อนแยกย้ายกันทำงาน เวลา 9.00-11.30 น. เด็ก ๆ จะทานอาหารกลางวัน(11.30น.) และเล่นอิสระที่สนามจนถึงเวลา 13.00 น. ส่วนช่วงบ่ายจะเน้นกิจกรรมกลุ่ม ไม่เหมือนงานในช่วงเช้า บ่ายแต่ละวันจะมีกิจกรรมศิลปะ, ห้องสมุด, Music and movement, Thai culture, Physical Education, ส่วนเด็กเล็กยังต้องมีเวลานอนตอนบ่ายด้วย จนถึงเวลากิจกรรมวงกลมร่วมกันอีกครั้ง เวลา 14.45 น. และเลิกเรียนเวลา 15.00 น.
ส่วนการประเมินผลนักเรียนจะมีการประเมินกับทุกภาคการศึกษา และมีสมุดรายงาน 2 เล่มต่อปี การประเมินผลจะเป็น parent-teacher conference 2-3 ครั้ง ต่อปี ในช่วงแต่ละปลายภาคเรียน ซึ่งผู้ปกครองจะได้พบปะคุณครูเพื่อพูดคุยและรับแจ้งข้อรายละเอียดของนักเรียนในเวลาดังกล่าว แต่หากผู้ปกครองมีข้อซักถามหรือความห่วงใยใด ๆ ต่อนักเรียนสามารถพบปะพูดคุยได้หลังเลิกเรียนในทุกวัน หรือหากเป็นข้อหารือที่เป็นประเด็นสำคัญต้องการนัดพบปะกัน Education Council ของโรงเรียน ก็สามารถนัดหมายผ่านสำนักงานโรงเรียน เพื่อพบกับกรรมการโรงเรียนได้เช่นกัน
เรียนผู้เข้าเยี่ยมชมทุกท่าน ผู้สร้างหวังให้เป็นพื้นที่สำหรับผู้สนใจ การศึกษาทางเลือกแบบ มอนเตสโซรี่ ได้ใช้เป็นที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และใช้ประโยชน์ในเชิงสร้างสรรค์ สร้างองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อการพัฒนา ประยุกต์แนวการศึกษามอนเตสโซรี่นี้กับแนวการศึกษาของบ้านเรา ในบริบทไทยเรา
6/07/2008
เรียน คุณแม่น้องชุติพนธ์
ต้องขอขอบคุณ และรู้สึกยินดีอย่างยิ่ง ที่คุณแม่ให้ความสนใจในรายละเอียดและซักถามเอาจริงเอาจังกับการดูแลลูก ก่อนจะตอบคำถาม เรียงไปในแต่ละข้อ จึงอยากนำเสนอเป็นภาพรวมของโรงเรียน เป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนคือ
การบริหารจัดการงานของโรงเรียน ส่วนที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งคือ เรื่องหลักสูตร โดยโรงเรียนฯเราเป็นโรงเรียนนานาชาติ ซึ่งใช้หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ของประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นหลักสูตรสถานศึกษา สิ่งนี้ต้องตรงกับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียน ซึ่งหากท่านได้เคยเยี่ยมชมโรงเรียนอื่นๆ ที่ไม่ใช่โรงเรียนนานาชาติ ก็จะต้องเป็นหลักสูตรพื้นฐานการศึกษาภาคบังคับ หากโรงเรียนใดปรับเอาวิธีการที่เป็น นวัฒกรรมซึ่งหลากหลายในปัจจุบันไปใช้ ก็จะเป็นเพียงการนำเอาวิธีการ หรือ นวัฒกรรม ไปปรับใช้ในสถานศึกษาเท่านั้น แต่ตัวหลักสูตรยังเป็นหลักสูตรพื้นฐานฯ ตามใบอนุญาตโรงเรียนสามัญฯ... ทั่วประเทศไทย
เรื่องของหลักสูตร ทำไมถึงบอกว่าสำคัญยิ่ง ก็เพราะว่า หลักสูตร จะเป็นกรอบการทำงานของโรงเรียน เป็นภารกิจผูกพัน ของผู้ให้บริการทางการศึกษาว่า นักเรียนจะเรียนอะไร มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ และเกณฑ์การประเมินผล คือ อะไร มีกฎเกณฑ์ ตามกฎหมายอย่างชัดเจน
หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ก็เช่นกัน เป็นหลักสูตรที่มีลักษณะเป็น Spiral curriculum จึงเรียนเสริมเพิ่ม และลึกขึ้นไปเรื่อยๆ เป็นหลักสูตรแบบบูรณาการ ไม่ใด้แยกสอนเป็นชิ้นๆ อีกจุดเด่นหนึ่งคือ อุปกรณ์ การเรียนการสอน ที่มีความลึกซึ้ง ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจ เป็นอุปกรณ์ที่ดึงดูดอยากหยิบจับมาเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งต่างกับ “ของเล่น” เพราะของเล่นดึงดูดและน่าสนใจ แต่ไม่ใด้มีลักษณะ “ต่อยอด” การเรียนรู้แบบอุปกรณ์การเรียนการสอน ของ มอนเตสโซรี่
นอกเหนือจาก หลักสูตร และอุปกรณ์การเรียนการสอนแล้ว คุณครูผู้จบหลักสูตร “ครูมอนเตสโซรี่”ก็เป็นส่วนสำคัญในการสร้างบรรยากาศการเรียนการสอน การบริหารจัดการในห้องเรียน ซึ่งต้องมีความเข้าใจในหลักปรัชญามอนเตสโซรี่ ที่คุณครูมอนเตสโซรี่ยึดถืออย่างมั่นคง ไม่ว่า “Respect the Child” ”Absorbent mind ” และ “Sensitive Period” ซึ่งเป็น ” แก่นความจริงที่เป็นสากล ” ในเชิงพัฒนาการเด็ก จิตวิทยาเด็ก ซึ่งคุณครูทุกคน ต้องเรียนเมื่อผ่านหลักสูตรครูมา ดังนั้นในห้องเรียน มอนเตสโซรี่ จึงมีการ ”Prepared Environment” และเรียกครูว่า ”Directress” คือผู้อำนวยการ ความพร้อมสำหรับการเรียนรู้ สำหรับเด็กๆ เตรียมพร้อมในทุกสิ่ง ทั้งอุปกรณ์การเรียนการสอน พร้อมทั้งตั้งอยู่ในระดับที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เอื้อให้เด็กสร้างแรงจูงใจ ในการเรียนรู้อย่าง “ธรรมชาติ” ซึ่งมีแรงขับ “การแสวงหา” การเรียนรู้ ความอยากรู้อยากเห็น ในธรรมชาติ ในตัวเด็กๆ ทุกคน อยู่แล้ว ระบบโรงเรียนบางระบบต่างหากที่บั่นทอน “ธรรมชาติการแสวงหาความรู้” ของเด็กจนหมดสิ้น กลายเป็นคนตัวเล็ก – ลีบ ลงไปทุกที ในขณะที่ระบบ มอนเตสโซรี่ นั้นเราเตรียมสิ่งแวดล้อม ให้พร้อมสำหรับการเรียนรู้ เราส่งเสริม “เสรีภาพภายใต้ขอบเขต” (Freedom with boundary) ดั้งนั้น ห้องเรียนของมอนเตสโซรี่จึงประกอบด้วย ภารกิจของคุณครูที่อำนวยความพร้อม ประกอบกับหลักสูตรฯ , อุปกรณ์การเรียนการสอน , บรรยากาศที่เอื้ออำนวยภายใต้การจัดการ จึงสามารถส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ในจังหวะก้าวของตัวเอง เป็นรายบุคคล ได้จริงสำหรับเด็กทุกๆคน ซึ่ง ”Set for success” สิ่งที่นักเรียนได้รับคือ เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน ไม่ได้รู้สึกยากเย็นในการเรียนรู้ เด็กจึงเกิด คุณสมบัติที่เป็น ผู้มีความมั่นใจในตนเองได้จริง เรียนรู้ภายใต้ ศักยภาพของตัวเอง ในจังหวะที่ก้าวหน้า เร็ว-ช้า ต่างกันได้โดยปราศจากการเปรียบเทียบแข่งขัน มาเป็นรางวัลล่อใจ เพราะความสำเร็จและความสุข ที่เด็ก ได้นั้น เป็นความสุข ปลื้มปิติ “ภายใน” ของเด็กแต่ละคน ไม่จำเป็นต้องพึ่งพา “รางวัล” จากภายนอก
ขอกลับมาตอบคำถามทีละข้อ เลยนะคะ
1. คุณครูจะต้องรู้จักเด็กทุกคน อย่างดีในทุกรายละเอียด เพราะคุณครูจะเป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ และเป็นผู้เตรียมความพร้อม ให้เด็กใด้รับผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายอยู่ในใจของคุณครูที่อ้างอิงกับหลักสูตรอยู่ และคุณครูจะเป็นผู้อนุญาตให้ การดำเนินการเรียนรู้ของนักเรียน ดำเนินการไปโดย “เป็นไปเอง” คือเป็นธรรมธรรมชาติ เพราะเด็กเรียนรู้แบบซึมซับ “Absorb Every things without effort ” เด็กเรียนรู้เองจากอุปกรณ์การเรียนการสอน จากการแสวงหาความรู้ และเกิดความภาคภูมิใจที่ก่อเกิดขึ้น เด็กสัมผัสได้เอง ไม่ใช่การเรียนรู้แบบ “ผู้ให้-ผู้รับ” เด็กยิ่งได้รับ “อิสระ” มากเท่าไร่เด็กก็สามารถเป็นตัวของตัวเองได้มากขึ้นเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องมี “ผู้ควบคุม” ใด ๆ แต่หากเกิดประเด็นที่เด็ก ทำซ้ำสิ่งเดียว ไม่ใด้ทำงานกับชิ้นอุปกรณ์อื่นเลย (โดยปกติไม่เป็นเช่นนั้น) คุณครูก็จะเป็นผู้โน้มน้าว ให้นักเรียนเบนไปกับสิ่งอื่น เพื่อเตรียมเด็ก ให้ “ทั่วถึงพร้อมในทุก ๆ ด้าน” คุณครูต้องทำการสังเกตการณ์ และเก็บข้อมูลจดบันทึกทุกๆ สิ่งที่เกิดขึ้น ตลอดเวลา ที่อยู่กับเด็ก
การสังเกตการณ์ เพื่อจดบันทึกความก้าวหน้าของเด็ก เกิดขึ้นตลอดเวลา จนยืนยันผลสัมฤทธิ์ ไม่ใช่เฉพาะชิ้นงาน ซึ่งเป็น Finished products หรือ คะแนนจากการสอบ เป็นตัวยืนยัน หรือวัดผล ประเมินผลเด็กนักเรียน คุณครูจะเป็นผู้สนใจ ในรายละเอียด ตลอดกระบวนการ การเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ของผู้เรียนตลอดเวลา
2. ห้องเรียนแบบมอนเตสโซรี่ ต้องการให้เด็กเรียนรู้จากเด็กที่โตกว่า จึงมีการคละอายุ คือเน้นเป็นห้องเรียนแบบช่วงชั้น เด็กเล็กเรียนจากเด็กโต เด็กโตมีโอกาสแสดงตัวเป็นผู้นำในชั้นปีสุดท้าย ในช่วงชั้นนั้นยิ่งเสริมความเชื่อมั่นและเป็นตัวของตัวเองให้กับเด็กก่อนจบการศึกษาในช่วงชั้นนั้น ๆ และอย่างที่กล่าว ตอนต้นว่า การเรียนการสอนอยู่ในกรอบของหลักสูตร มี scope / sequence ของสาระการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน เพราะเด็ก ๆ จะทำงานตามศักยภาพเป็นรายบุคคล การ present material กับเด็ก (อย่างที่เห็นตอนคุณครูทำงานกับนักเรียน) จะเป็นช่วงเวลาที่สำคัญ เพราะเป็นช่วงที่สมาธิและความตั้งใจทั้งหมดอยู่ที่งาน (ซึ่งเป็นงานที่ไม่ยากเกินความสามารถเด็กและไม่ง่ายจนน่าเบื่อ แต่ต้องเป็นงานที่เร้าใจ และเด็กอยากทำ) เด็กจะได้ฝึกความมุ่งมั่นและใส่ใจในงานอย่างมีสมาธิเข้มฃ้นและเด็กเป็นผู้ได้ลงมือทำ (ไม่ใช่นั่งฟัง) จังหวะเมื่อไร เป็นช่วงเหมาะสม เมื่อเด็กพร้อมเป็นช่วงสำคัญยิ่ง เพราะคุณครูต้องการให้ทุกชิ้นงานถูกนำเสนอในเวลาที่เหมาะเจาะอย่างยิ่งให้เด็ก (1) ประทับใจ และ (2) ถัดมา อยากทำซ้ำเอง จน (3) เกิดความชำนาญ แล้วเปลี่ยนไปสู่ชิ้นอุปกรณ์ที่ก้าวหน้าต่อไป จนเกิดเป็นการกระบวนการเรียนรู้ และเหล่านี้คือสิ่งที่คุณครูต้องจดบันทึกความก้าวหน้าฃองเด็กตลอดเวลา
ความเป็นห่วงว่าคุณครูเห็นหรือไม่ การที่ต้องมีสมาธิกับนักเรียนคนหนึ่ง ของ Present material อยู่ นั่นคือทำไมจึงมีคุณครูผู้ช่วยอีกหนึ่งท่านในห้องเรียนเสมอทุก ๆห้องเรียนมอนเตสโซรี่ทั่วโลก ส่วนข้อที่ว่า เด็กเรียนรู้กับอุปกรณ์หมดทุกอย่างก่อน 3 ปี นั้นความจริงภายในห้องยังมีอุปกรณ์ที่คาบเกี่ยวกับงาน ป.1 อยู่ด้วย แต่คุณครูจะเป็นผู้ประเมินความพร้อมทั้งด้านวิชาการ และด้านสังคม หรือหากเด็กมีความพร้อมอย่างแท้จริง เด็กก็สามารถเลื่อนชั้นได้ แต่ถ้าเด็กช้ากว่าเกณฑ์ก็อาจต้องอยู่นานขึ้นเช่นกัน เราไม่ได้ประเมินจากแค่อายุเด็กแล้ว พิจารณาเลื่อนชั้น จะดูจากศักยภาพเด็กในทุกด้านอย่างที่กล่าวไว้
3. เด็กจะถูกโน้มน้าวให้ได้เรียนรู้อย่างรอบด้าน แต่ก็มีอิสระที่จะทำงานด้านใดบางด้านมากกว่าด้านอื่นด้วยเช่นกัน เพราะเด็กแต่ละคนย่อมมีอัตตลักษณ์ของตนเอง แต่คุณครูก็จะไม่ปล่อยให้ขาดพร่องในบางด้านด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะเด็กในระดับเล็ก ต้องเตรียมให้เด็กได้มีโอกาสเลือกอย่างแท้จริงเสียก่อนตัดสินว่า ศักยภาพสูงสุดในด้านใดจะถูกส่งเสริมเป็นพิเศษ
4. ส่วนตารางเวลาและการประเมินผลนักเรียนนั้น
เราเริ่มวันจันทร์ของสัปดาห์ เวลา 08.00 น. เคารพธงชาติพร้อมกันทั้งโรงเรียน นักเรียนอนุบาลได้เล่นสนามช่วงเช้าจนถึง เวลา 08.30 น. จึงเข้าเรียนและเริ่มด้วยกิจกรรมวงกลมรวมกันทั้งห้องก่อนแยกย้ายกันทำงาน เวลา 9.00-11.30 น. เด็ก ๆ จะทานอาหารกลางวัน(11.30น.) และเล่นอิสระที่สนามจนถึงเวลา 13.00 น. ส่วนช่วงบ่ายจะเน้นกิจกรรมกลุ่ม ไม่เหมือนงานในช่วงเช้า บ่ายแต่ละวันจะมีกิจกรรมศิลปะ, ห้องสมุด, Music and movement, Thai culture, Physical Education, ส่วนเด็กเล็กยังต้องมีเวลานอนตอนบ่ายด้วย จนถึงเวลากิจกรรมวงกลมร่วมกันอีกครั้ง เวลา 14.45 น. และเลิกเรียนเวลา 15.00 น.
ส่วนการประเมินผลนักเรียนจะมีการประเมินกับทุกภาคการศึกษา และมีสมุดรายงาน 2 เล่มต่อปี การประเมินผลจะเป็น parent-teacher conference 2-3 ครั้ง ต่อปี ในช่วงแต่ละปลายภาคเรียน ซึ่งผู้ปกครองจะได้พบปะคุณครูเพื่อพูดคุยและรับแจ้งข้อรายละเอียดของนักเรียนในเวลาดังกล่าว แต่หากผู้ปกครองมีข้อซักถามหรือความห่วงใยใด ๆ ต่อนักเรียนสามารถพบปะพูดคุยได้หลังเลิกเรียนในทุกวัน หรือหากเป็นข้อหารือที่เป็นประเด็นสำคัญต้องการนัดพบปะกัน Education Council ของโรงเรียน ก็สามารถนัดหมายผ่านสำนักงานโรงเรียน เพื่อพบกับกรรมการโรงเรียนได้เช่นกัน
ต้องขอขอบคุณ และรู้สึกยินดีอย่างยิ่ง ที่คุณแม่ให้ความสนใจในรายละเอียดและซักถามเอาจริงเอาจังกับการดูแลลูก ก่อนจะตอบคำถาม เรียงไปในแต่ละข้อ จึงอยากนำเสนอเป็นภาพรวมของโรงเรียน เป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนคือ
การบริหารจัดการงานของโรงเรียน ส่วนที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งคือ เรื่องหลักสูตร โดยโรงเรียนฯเราเป็นโรงเรียนนานาชาติ ซึ่งใช้หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ของประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นหลักสูตรสถานศึกษา สิ่งนี้ต้องตรงกับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียน ซึ่งหากท่านได้เคยเยี่ยมชมโรงเรียนอื่นๆ ที่ไม่ใช่โรงเรียนนานาชาติ ก็จะต้องเป็นหลักสูตรพื้นฐานการศึกษาภาคบังคับ หากโรงเรียนใดปรับเอาวิธีการที่เป็น นวัฒกรรมซึ่งหลากหลายในปัจจุบันไปใช้ ก็จะเป็นเพียงการนำเอาวิธีการ หรือ นวัฒกรรม ไปปรับใช้ในสถานศึกษาเท่านั้น แต่ตัวหลักสูตรยังเป็นหลักสูตรพื้นฐานฯ ตามใบอนุญาตโรงเรียนสามัญฯ... ทั่วประเทศไทย
เรื่องของหลักสูตร ทำไมถึงบอกว่าสำคัญยิ่ง ก็เพราะว่า หลักสูตร จะเป็นกรอบการทำงานของโรงเรียน เป็นภารกิจผูกพัน ของผู้ให้บริการทางการศึกษาว่า นักเรียนจะเรียนอะไร มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ และเกณฑ์การประเมินผล คือ อะไร มีกฎเกณฑ์ ตามกฎหมายอย่างชัดเจน
หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ก็เช่นกัน เป็นหลักสูตรที่มีลักษณะเป็น Spiral curriculum จึงเรียนเสริมเพิ่ม และลึกขึ้นไปเรื่อยๆ เป็นหลักสูตรแบบบูรณาการ ไม่ใด้แยกสอนเป็นชิ้นๆ อีกจุดเด่นหนึ่งคือ อุปกรณ์ การเรียนการสอน ที่มีความลึกซึ้ง ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจ เป็นอุปกรณ์ที่ดึงดูดอยากหยิบจับมาเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งต่างกับ “ของเล่น” เพราะของเล่นดึงดูดและน่าสนใจ แต่ไม่ใด้มีลักษณะ “ต่อยอด” การเรียนรู้แบบอุปกรณ์การเรียนการสอน ของ มอนเตสโซรี่
นอกเหนือจาก หลักสูตร และอุปกรณ์การเรียนการสอนแล้ว คุณครูผู้จบหลักสูตร “ครูมอนเตสโซรี่”ก็เป็นส่วนสำคัญในการสร้างบรรยากาศการเรียนการสอน การบริหารจัดการในห้องเรียน ซึ่งต้องมีความเข้าใจในหลักปรัชญามอนเตสโซรี่ ที่คุณครูมอนเตสโซรี่ยึดถืออย่างมั่นคง ไม่ว่า “Respect the Child” ”Absorbent mind ” และ “Sensitive Period” ซึ่งเป็น ” แก่นความจริงที่เป็นสากล ” ในเชิงพัฒนาการเด็ก จิตวิทยาเด็ก ซึ่งคุณครูทุกคน ต้องเรียนเมื่อผ่านหลักสูตรครูมา ดังนั้นในห้องเรียน มอนเตสโซรี่ จึงมีการ ”Prepared Environment” และเรียกครูว่า ”Directress” คือผู้อำนวยการ ความพร้อมสำหรับการเรียนรู้ สำหรับเด็กๆ เตรียมพร้อมในทุกสิ่ง ทั้งอุปกรณ์การเรียนการสอน พร้อมทั้งตั้งอยู่ในระดับที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เอื้อให้เด็กสร้างแรงจูงใจ ในการเรียนรู้อย่าง “ธรรมชาติ” ซึ่งมีแรงขับ “การแสวงหา” การเรียนรู้ ความอยากรู้อยากเห็น ในธรรมชาติ ในตัวเด็กๆ ทุกคน อยู่แล้ว ระบบโรงเรียนบางระบบต่างหากที่บั่นทอน “ธรรมชาติการแสวงหาความรู้” ของเด็กจนหมดสิ้น กลายเป็นคนตัวเล็ก – ลีบ ลงไปทุกที ในขณะที่ระบบ มอนเตสโซรี่ นั้นเราเตรียมสิ่งแวดล้อม ให้พร้อมสำหรับการเรียนรู้ เราส่งเสริม “เสรีภาพภายใต้ขอบเขต” (Freedom with boundary) ดั้งนั้น ห้องเรียนของมอนเตสโซรี่จึงประกอบด้วย ภารกิจของคุณครูที่อำนวยความพร้อม ประกอบกับหลักสูตรฯ , อุปกรณ์การเรียนการสอน , บรรยากาศที่เอื้ออำนวยภายใต้การจัดการ จึงสามารถส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ในจังหวะก้าวของตัวเอง เป็นรายบุคคล ได้จริงสำหรับเด็กทุกๆคน ซึ่ง ”Set for success” สิ่งที่นักเรียนได้รับคือ เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน ไม่ได้รู้สึกยากเย็นในการเรียนรู้ เด็กจึงเกิด คุณสมบัติที่เป็น ผู้มีความมั่นใจในตนเองได้จริง เรียนรู้ภายใต้ ศักยภาพของตัวเอง ในจังหวะที่ก้าวหน้า เร็ว-ช้า ต่างกันได้โดยปราศจากการเปรียบเทียบแข่งขัน มาเป็นรางวัลล่อใจ เพราะความสำเร็จและความสุข ที่เด็ก ได้นั้น เป็นความสุข ปลื้มปิติ “ภายใน” ของเด็กแต่ละคน ไม่จำเป็นต้องพึ่งพา “รางวัล” จากภายนอก
ขอกลับมาตอบคำถามทีละข้อ เลยนะคะ
1. คุณครูจะต้องรู้จักเด็กทุกคน อย่างดีในทุกรายละเอียด เพราะคุณครูจะเป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ และเป็นผู้เตรียมความพร้อม ให้เด็กใด้รับผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายอยู่ในใจของคุณครูที่อ้างอิงกับหลักสูตรอยู่ และคุณครูจะเป็นผู้อนุญาตให้ การดำเนินการเรียนรู้ของนักเรียน ดำเนินการไปโดย “เป็นไปเอง” คือเป็นธรรมธรรมชาติ เพราะเด็กเรียนรู้แบบซึมซับ “Absorb Every things without effort ” เด็กเรียนรู้เองจากอุปกรณ์การเรียนการสอน จากการแสวงหาความรู้ และเกิดความภาคภูมิใจที่ก่อเกิดขึ้น เด็กสัมผัสได้เอง ไม่ใช่การเรียนรู้แบบ “ผู้ให้-ผู้รับ” เด็กยิ่งได้รับ “อิสระ” มากเท่าไร่เด็กก็สามารถเป็นตัวของตัวเองได้มากขึ้นเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องมี “ผู้ควบคุม” ใด ๆ แต่หากเกิดประเด็นที่เด็ก ทำซ้ำสิ่งเดียว ไม่ใด้ทำงานกับชิ้นอุปกรณ์อื่นเลย (โดยปกติไม่เป็นเช่นนั้น) คุณครูก็จะเป็นผู้โน้มน้าว ให้นักเรียนเบนไปกับสิ่งอื่น เพื่อเตรียมเด็ก ให้ “ทั่วถึงพร้อมในทุก ๆ ด้าน” คุณครูต้องทำการสังเกตการณ์ และเก็บข้อมูลจดบันทึกทุกๆ สิ่งที่เกิดขึ้น ตลอดเวลา ที่อยู่กับเด็ก
การสังเกตการณ์ เพื่อจดบันทึกความก้าวหน้าของเด็ก เกิดขึ้นตลอดเวลา จนยืนยันผลสัมฤทธิ์ ไม่ใช่เฉพาะชิ้นงาน ซึ่งเป็น Finished products หรือ คะแนนจากการสอบ เป็นตัวยืนยัน หรือวัดผล ประเมินผลเด็กนักเรียน คุณครูจะเป็นผู้สนใจ ในรายละเอียด ตลอดกระบวนการ การเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ของผู้เรียนตลอดเวลา
2. ห้องเรียนแบบมอนเตสโซรี่ ต้องการให้เด็กเรียนรู้จากเด็กที่โตกว่า จึงมีการคละอายุ คือเน้นเป็นห้องเรียนแบบช่วงชั้น เด็กเล็กเรียนจากเด็กโต เด็กโตมีโอกาสแสดงตัวเป็นผู้นำในชั้นปีสุดท้าย ในช่วงชั้นนั้นยิ่งเสริมความเชื่อมั่นและเป็นตัวของตัวเองให้กับเด็กก่อนจบการศึกษาในช่วงชั้นนั้น ๆ และอย่างที่กล่าว ตอนต้นว่า การเรียนการสอนอยู่ในกรอบของหลักสูตร มี scope / sequence ของสาระการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน เพราะเด็ก ๆ จะทำงานตามศักยภาพเป็นรายบุคคล การ present material กับเด็ก (อย่างที่เห็นตอนคุณครูทำงานกับนักเรียน) จะเป็นช่วงเวลาที่สำคัญ เพราะเป็นช่วงที่สมาธิและความตั้งใจทั้งหมดอยู่ที่งาน (ซึ่งเป็นงานที่ไม่ยากเกินความสามารถเด็กและไม่ง่ายจนน่าเบื่อ แต่ต้องเป็นงานที่เร้าใจ และเด็กอยากทำ) เด็กจะได้ฝึกความมุ่งมั่นและใส่ใจในงานอย่างมีสมาธิเข้มฃ้นและเด็กเป็นผู้ได้ลงมือทำ (ไม่ใช่นั่งฟัง) จังหวะเมื่อไร เป็นช่วงเหมาะสม เมื่อเด็กพร้อมเป็นช่วงสำคัญยิ่ง เพราะคุณครูต้องการให้ทุกชิ้นงานถูกนำเสนอในเวลาที่เหมาะเจาะอย่างยิ่งให้เด็ก (1) ประทับใจ และ (2) ถัดมา อยากทำซ้ำเอง จน (3) เกิดความชำนาญ แล้วเปลี่ยนไปสู่ชิ้นอุปกรณ์ที่ก้าวหน้าต่อไป จนเกิดเป็นการกระบวนการเรียนรู้ และเหล่านี้คือสิ่งที่คุณครูต้องจดบันทึกความก้าวหน้าฃองเด็กตลอดเวลา
ความเป็นห่วงว่าคุณครูเห็นหรือไม่ การที่ต้องมีสมาธิกับนักเรียนคนหนึ่ง ของ Present material อยู่ นั่นคือทำไมจึงมีคุณครูผู้ช่วยอีกหนึ่งท่านในห้องเรียนเสมอทุก ๆห้องเรียนมอนเตสโซรี่ทั่วโลก ส่วนข้อที่ว่า เด็กเรียนรู้กับอุปกรณ์หมดทุกอย่างก่อน 3 ปี นั้นความจริงภายในห้องยังมีอุปกรณ์ที่คาบเกี่ยวกับงาน ป.1 อยู่ด้วย แต่คุณครูจะเป็นผู้ประเมินความพร้อมทั้งด้านวิชาการ และด้านสังคม หรือหากเด็กมีความพร้อมอย่างแท้จริง เด็กก็สามารถเลื่อนชั้นได้ แต่ถ้าเด็กช้ากว่าเกณฑ์ก็อาจต้องอยู่นานขึ้นเช่นกัน เราไม่ได้ประเมินจากแค่อายุเด็กแล้ว พิจารณาเลื่อนชั้น จะดูจากศักยภาพเด็กในทุกด้านอย่างที่กล่าวไว้
3. เด็กจะถูกโน้มน้าวให้ได้เรียนรู้อย่างรอบด้าน แต่ก็มีอิสระที่จะทำงานด้านใดบางด้านมากกว่าด้านอื่นด้วยเช่นกัน เพราะเด็กแต่ละคนย่อมมีอัตตลักษณ์ของตนเอง แต่คุณครูก็จะไม่ปล่อยให้ขาดพร่องในบางด้านด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะเด็กในระดับเล็ก ต้องเตรียมให้เด็กได้มีโอกาสเลือกอย่างแท้จริงเสียก่อนตัดสินว่า ศักยภาพสูงสุดในด้านใดจะถูกส่งเสริมเป็นพิเศษ
4. ส่วนตารางเวลาและการประเมินผลนักเรียนนั้น
เราเริ่มวันจันทร์ของสัปดาห์ เวลา 08.00 น. เคารพธงชาติพร้อมกันทั้งโรงเรียน นักเรียนอนุบาลได้เล่นสนามช่วงเช้าจนถึง เวลา 08.30 น. จึงเข้าเรียนและเริ่มด้วยกิจกรรมวงกลมรวมกันทั้งห้องก่อนแยกย้ายกันทำงาน เวลา 9.00-11.30 น. เด็ก ๆ จะทานอาหารกลางวัน(11.30น.) และเล่นอิสระที่สนามจนถึงเวลา 13.00 น. ส่วนช่วงบ่ายจะเน้นกิจกรรมกลุ่ม ไม่เหมือนงานในช่วงเช้า บ่ายแต่ละวันจะมีกิจกรรมศิลปะ, ห้องสมุด, Music and movement, Thai culture, Physical Education, ส่วนเด็กเล็กยังต้องมีเวลานอนตอนบ่ายด้วย จนถึงเวลากิจกรรมวงกลมร่วมกันอีกครั้ง เวลา 14.45 น. และเลิกเรียนเวลา 15.00 น.
ส่วนการประเมินผลนักเรียนจะมีการประเมินกับทุกภาคการศึกษา และมีสมุดรายงาน 2 เล่มต่อปี การประเมินผลจะเป็น parent-teacher conference 2-3 ครั้ง ต่อปี ในช่วงแต่ละปลายภาคเรียน ซึ่งผู้ปกครองจะได้พบปะคุณครูเพื่อพูดคุยและรับแจ้งข้อรายละเอียดของนักเรียนในเวลาดังกล่าว แต่หากผู้ปกครองมีข้อซักถามหรือความห่วงใยใด ๆ ต่อนักเรียนสามารถพบปะพูดคุยได้หลังเลิกเรียนในทุกวัน หรือหากเป็นข้อหารือที่เป็นประเด็นสำคัญต้องการนัดพบปะกัน Education Council ของโรงเรียน ก็สามารถนัดหมายผ่านสำนักงานโรงเรียน เพื่อพบกับกรรมการโรงเรียนได้เช่นกัน
สำรรจหาโรงเรียนดีๆ สำหรับลูกน้อย
เรียน คุณแม่ที่กำลังหาโรงเรียนสำหรับลูกน้อย
ต้องขอขอบคุณ และรู้สึกยินดีอย่างยิ่ง ที่คุณแม่ให้ความสนใจในรายละเอียดและซักถามเอาจริงเอาจังกับการดูแลลูก ก่อนจะตอบคำถาม เรียงไปในแต่ละข้อ จึงอยากนำเสนอเป็นภาพรวมของโรงเรียน เป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนคือ
การบริหารจัดการงานของโรงเรียน ส่วนที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งคือ เรื่องหลักสูตร โดยโรงเรียนฯเราเป็นโรงเรียนนานาชาติ ซึ่งใช้หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ของประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นหลักสูตรสถานศึกษา สิ่งนี้ต้องตรงกับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียน ซึ่งหากท่านได้เคยเยี่ยมชมโรงเรียนอื่นๆ ที่ไม่ใช่โรงเรียนนานาชาติ ก็จะต้องเป็นหลักสูตรพื้นฐานการศึกษาภาคบังคับ หากโรงเรียนใดปรับเอาวิธีการที่เป็น นวัฒกรรมซึ่งหลากหลายในปัจจุบันไปใช้ ก็จะเป็นเพียงการนำเอาวิธีการ หรือ นวัฒกรรม ไปปรับใช้ในสถานศึกษาเท่านั้น แต่ตัวหลักสูตรยังเป็นหลักสูตรพื้นฐานฯ ตามใบอนุญาตโรงเรียนสามัญฯ... ทั่วประเทศไทย
เรื่องของหลักสูตร ทำไมถึงบอกว่าสำคัญยิ่ง ก็เพราะว่า หลักสูตร จะเป็นกรอบการทำงานของโรงเรียน เป็นภารกิจผูกพัน ของผู้ให้บริการทางการศึกษาว่า นักเรียนจะเรียนอะไร มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ และเกณฑ์การประเมินผล คือ อะไร มีกฎเกณฑ์ ตามกฎหมายอย่างชัดเจน
หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ก็เช่นกัน เป็นหลักสูตรที่มีลักษณะเป็น Spiral curriculum จึงเรียนเสริมเพิ่ม และลึกขึ้นไปเรื่อยๆ เป็นหลักสูตรแบบบูรณาการ ไม่ใด้แยกสอนเป็นชิ้นๆ อีกจุดเด่นหนึ่งคือ อุปกรณ์ การเรียนการสอน ที่มีความลึกซึ้ง ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจ เป็นอุปกรณ์ที่ดึงดูดอยากหยิบจับมาเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งต่างกับ “ของเล่น” เพราะของเล่นดึงดูดและน่าสนใจ แต่ไม่ใด้มีลักษณะ “ต่อยอด” การเรียนรู้แบบอุปกรณ์การเรียนการสอน ของ มอนเตสโซรี่
นอกเหนือจาก หลักสูตร และอุปกรณ์การเรียนการสอนแล้ว คุณครูผู้จบหลักสูตร “ครูมอนเตสโซรี่”ก็เป็นส่วนสำคัญในการสร้างบรรยากาศการเรียนการสอน การบริหารจัดการในห้องเรียน ซึ่งต้องมีความเข้าใจในหลักปรัชญามอนเตสโซรี่ ที่คุณครูมอนเตสโซรี่ยึดถืออย่างมั่นคง ไม่ว่า “Respect the Child” ”Absorbent mind ” และ “Sensitive Period” ซึ่งเป็น ” แก่นความจริงที่เป็นสากล ” ในเชิงพัฒนาการเด็ก จิตวิทยาเด็ก ซึ่งคุณครูทุกคน ต้องเรียนเมื่อผ่านหลักสูตรครูมา ดังนั้นในห้องเรียน มอนเตสโซรี่ จึงมีการ ”Prepared Environment” และเรียกครูว่า ”Directress” คือผู้อำนวยการ ความพร้อมสำหรับการเรียนรู้ สำหรับเด็กๆ เตรียมพร้อมในทุกสิ่ง ทั้งอุปกรณ์การเรียนการสอน พร้อมทั้งตั้งอยู่ในระดับที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เอื้อให้เด็กสร้างแรงจูงใจ ในการเรียนรู้อย่าง “ธรรมชาติ” ซึ่งมีแรงขับ “การแสวงหา” การเรียนรู้ ความอยากรู้อยากเห็น ในธรรมชาติ ในตัวเด็กๆ ทุกคน อยู่แล้ว ระบบโรงเรียนบางระบบต่างหากที่บั่นทอน “ธรรมชาติการแสวงหาความรู้” ของเด็กจนหมดสิ้น กลายเป็นคนตัวเล็ก – ลีบ ลงไปทุกที ในขณะที่ระบบ มอนเตสโซรี่ นั้นเราเตรียมสิ่งแวดล้อม ให้พร้อมสำหรับการเรียนรู้ เราส่งเสริม “เสรีภาพภายใต้ขอบเขต” (Freedom with boundary) ดั้งนั้น ห้องเรียนของมอนเตสโซรี่จึงประกอบด้วย ภารกิจของคุณครูที่อำนวยความพร้อม ประกอบกับหลักสูตรฯ , อุปกรณ์การเรียนการสอน , บรรยากาศที่เอื้ออำนวยภายใต้การจัดการ จึงสามารถส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ในจังหวะก้าวของตัวเอง เป็นรายบุคคล ได้จริงสำหรับเด็กทุกๆคน ซึ่ง ”Set for success” สิ่งที่นักเรียนได้รับคือ เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน ไม่ได้รู้สึกยากเย็นในการเรียนรู้ เด็กจึงเกิด คุณสมบัติที่เป็น ผู้มีความมั่นใจในตนเองได้จริง เรียนรู้ภายใต้ ศักยภาพของตัวเอง ในจังหวะที่ก้าวหน้า เร็ว-ช้า ต่างกันได้โดยปราศจากการเปรียบเทียบแข่งขัน มาเป็นรางวัลล่อใจ เพราะความสำเร็จและความสุข ที่เด็ก ได้นั้น เป็นความสุข ปลื้มปิติ “ภายใน” ของเด็กแต่ละคน ไม่จำเป็นต้องพึ่งพา “รางวัล” จากภายนอก
ขอกลับมาตอบคำถามทีละข้อ เลยนะคะ
1. คุณครูจะต้องรู้จักเด็กทุกคน อย่างดีในทุกรายละเอียด เพราะคุณครูจะเป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ และเป็นผู้เตรียมความพร้อม ให้เด็กใด้รับผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายอยู่ในใจของคุณครูที่อ้างอิงกับหลักสูตรอยู่ และคุณครูจะเป็นผู้อนุญาตให้ การดำเนินการเรียนรู้ของนักเรียน ดำเนินการไปโดย “เป็นไปเอง” คือเป็นธรรมธรรมชาติ เพราะเด็กเรียนรู้แบบซึมซับ “Absorb Every things without effort ” เด็กเรียนรู้เองจากอุปกรณ์การเรียนการสอน จากการแสวงหาความรู้ และเกิดความภาคภูมิใจที่ก่อเกิดขึ้น เด็กสัมผัสได้เอง ไม่ใช่การเรียนรู้แบบ “ผู้ให้-ผู้รับ” เด็กยิ่งได้รับ “อิสระ” มากเท่าไร่เด็กก็สามารถเป็นตัวของตัวเองได้มากขึ้นเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องมี “ผู้ควบคุม” ใด ๆ แต่หากเกิดประเด็นที่เด็ก ทำซ้ำสิ่งเดียว ไม่ใด้ทำงานกับชิ้นอุปกรณ์อื่นเลย (โดยปกติไม่เป็นเช่นนั้น) คุณครูก็จะเป็นผู้โน้มน้าว ให้นักเรียนเบนไปกับสิ่งอื่น เพื่อเตรียมเด็ก ให้ “ทั่วถึงพร้อมในทุก ๆ ด้าน” คุณครูต้องทำการสังเกตการณ์ และเก็บข้อมูลจดบันทึกทุกๆ สิ่งที่เกิดขึ้น ตลอดเวลา ที่อยู่กับเด็ก
การสังเกตการณ์ เพื่อจดบันทึกความก้าวหน้าของเด็ก เกิดขึ้นตลอดเวลา จนยืนยันผลสัมฤทธิ์ ไม่ใช่เฉพาะชิ้นงาน ซึ่งเป็น Finished products หรือ คะแนนจากการสอบ เป็นตัวยืนยัน หรือวัดผล ประเมินผลเด็กนักเรียน คุณครูจะเป็นผู้สนใจ ในรายละเอียด ตลอดกระบวนการ การเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ของผู้เรียนตลอดเวลา
2. ห้องเรียนแบบมอนเตสโซรี่ ต้องการให้เด็กเรียนรู้จากเด็กที่โตกว่า จึงมีการคละอายุ คือเน้นเป็นห้องเรียนแบบช่วงชั้น เด็กเล็กเรียนจากเด็กโต เด็กโตมีโอกาสแสดงตัวเป็นผู้นำในชั้นปีสุดท้าย ในช่วงชั้นนั้นยิ่งเสริมความเชื่อมั่นและเป็นตัวของตัวเองให้กับเด็กก่อนจบการศึกษาในช่วงชั้นนั้น ๆ และอย่างที่กล่าว ตอนต้นว่า การเรียนการสอนอยู่ในกรอบของหลักสูตร มี scope / sequence ของสาระการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน เพราะเด็ก ๆ จะทำงานตามศักยภาพเป็นรายบุคคล การ present material กับเด็ก (อย่างที่เห็นตอนคุณครูทำงานกับนักเรียน) จะเป็นช่วงเวลาที่สำคัญ เพราะเป็นช่วงที่สมาธิและความตั้งใจทั้งหมดอยู่ที่งาน (ซึ่งเป็นงานที่ไม่ยากเกินความสามารถเด็กและไม่ง่ายจนน่าเบื่อ แต่ต้องเป็นงานที่เร้าใจ และเด็กอยากทำ) เด็กจะได้ฝึกความมุ่งมั่นและใส่ใจในงานอย่างมีสมาธิเข้มฃ้นและเด็กเป็นผู้ได้ลงมือทำ (ไม่ใช่นั่งฟัง) จังหวะเมื่อไร เป็นช่วงเหมาะสม เมื่อเด็กพร้อมเป็นช่วงสำคัญยิ่ง เพราะคุณครูต้องการให้ทุกชิ้นงานถูกนำเสนอในเวลาที่เหมาะเจาะอย่างยิ่งให้เด็ก (1) ประทับใจ และ (2) ถัดมา อยากทำซ้ำเอง จน (3) เกิดความชำนาญ แล้วเปลี่ยนไปสู่ชิ้นอุปกรณ์ที่ก้าวหน้าต่อไป จนเกิดเป็นการกระบวนการเรียนรู้ และเหล่านี้คือสิ่งที่คุณครูต้องจดบันทึกความก้าวหน้าฃองเด็กตลอดเวลา
ความเป็นห่วงว่าคุณครูเห็นหรือไม่ การที่ต้องมีสมาธิกับนักเรียนคนหนึ่ง ของ Present material อยู่ นั่นคือทำไมจึงมีคุณครูผู้ช่วยอีกหนึ่งท่านในห้องเรียนเสมอทุก ๆห้องเรียนมอนเตสโซรี่ทั่วโลก ส่วนข้อที่ว่า เด็กเรียนรู้กับอุปกรณ์หมดทุกอย่างก่อน 3 ปี นั้นความจริงภายในห้องยังมีอุปกรณ์ที่คาบเกี่ยวกับงาน ป.1 อยู่ด้วย แต่คุณครูจะเป็นผู้ประเมินความพร้อมทั้งด้านวิชาการ และด้านสังคม หรือหากเด็กมีความพร้อมอย่างแท้จริง เด็กก็สามารถเลื่อนชั้นได้ แต่ถ้าเด็กช้ากว่าเกณฑ์ก็อาจต้องอยู่นานขึ้นเช่นกัน เราไม่ได้ประเมินจากแค่อายุเด็กแล้ว พิจารณาเลื่อนชั้น จะดูจากศักยภาพเด็กในทุกด้านอย่างที่กล่าวไว้
3. เด็กจะถูกโน้มน้าวให้ได้เรียนรู้อย่างรอบด้าน แต่ก็มีอิสระที่จะทำงานด้านใดบางด้านมากกว่าด้านอื่นด้วยเช่นกัน เพราะเด็กแต่ละคนย่อมมีอัตตลักษณ์ของตนเอง แต่คุณครูก็จะไม่ปล่อยให้ขาดพร่องในบางด้านด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะเด็กในระดับเล็ก ต้องเตรียมให้เด็กได้มีโอกาสเลือกอย่างแท้จริงเสียก่อนตัดสินว่า ศักยภาพสูงสุดในด้านใดจะถูกส่งเสริมเป็นพิเศษ
4. ส่วนตารางเวลาและการประเมินผลนักเรียนนั้น
เราเริ่มวันจันทร์ของสัปดาห์ เวลา 08.00 น. เคารพธงชาติพร้อมกันทั้งโรงเรียน นักเรียนอนุบาลได้เล่นสนามช่วงเช้าจนถึง เวลา 08.30 น. จึงเข้าเรียนและเริ่มด้วยกิจกรรมวงกลมรวมกันทั้งห้องก่อนแยกย้ายกันทำงาน เวลา 9.00-11.30 น. เด็ก ๆ จะทานอาหารกลางวัน(11.30น.) และเล่นอิสระที่สนามจนถึงเวลา 13.00 น. ส่วนช่วงบ่ายจะเน้นกิจกรรมกลุ่ม ไม่เหมือนงานในช่วงเช้า บ่ายแต่ละวันจะมีกิจกรรมศิลปะ, ห้องสมุด, Music and movement, Thai culture, Physical Education, ส่วนเด็กเล็กยังต้องมีเวลานอนตอนบ่ายด้วย จนถึงเวลากิจกรรมวงกลมร่วมกันอีกครั้ง เวลา 14.45 น. และเลิกเรียนเวลา 15.00 น.
ส่วนการประเมินผลนักเรียนจะมีการประเมินกับทุกภาคการศึกษา และมีสมุดรายงาน 2 เล่มต่อปี การประเมินผลจะเป็น parent-teacher conference 2-3 ครั้ง ต่อปี ในช่วงแต่ละปลายภาคเรียน ซึ่งผู้ปกครองจะได้พบปะคุณครูเพื่อพูดคุยและรับแจ้งข้อรายละเอียดของนักเรียนในเวลาดังกล่าว แต่หากผู้ปกครองมีข้อซักถามหรือความห่วงใยใด ๆ ต่อนักเรียนสามารถพบปะพูดคุยได้หลังเลิกเรียนในทุกวัน หรือหากเป็นข้อหารือที่เป็นประเด็นสำคัญต้องการนัดพบปะกัน Education Council ของโรงเรียน ก็สามารถนัดหมายผ่านสำนักงานโรงเรียน เพื่อพบกับกรรมการโรงเรียนได้เช่นกัน
ต้องขอขอบคุณ และรู้สึกยินดีอย่างยิ่ง ที่คุณแม่ให้ความสนใจในรายละเอียดและซักถามเอาจริงเอาจังกับการดูแลลูก ก่อนจะตอบคำถาม เรียงไปในแต่ละข้อ จึงอยากนำเสนอเป็นภาพรวมของโรงเรียน เป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนคือ
การบริหารจัดการงานของโรงเรียน ส่วนที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งคือ เรื่องหลักสูตร โดยโรงเรียนฯเราเป็นโรงเรียนนานาชาติ ซึ่งใช้หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ของประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นหลักสูตรสถานศึกษา สิ่งนี้ต้องตรงกับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียน ซึ่งหากท่านได้เคยเยี่ยมชมโรงเรียนอื่นๆ ที่ไม่ใช่โรงเรียนนานาชาติ ก็จะต้องเป็นหลักสูตรพื้นฐานการศึกษาภาคบังคับ หากโรงเรียนใดปรับเอาวิธีการที่เป็น นวัฒกรรมซึ่งหลากหลายในปัจจุบันไปใช้ ก็จะเป็นเพียงการนำเอาวิธีการ หรือ นวัฒกรรม ไปปรับใช้ในสถานศึกษาเท่านั้น แต่ตัวหลักสูตรยังเป็นหลักสูตรพื้นฐานฯ ตามใบอนุญาตโรงเรียนสามัญฯ... ทั่วประเทศไทย
เรื่องของหลักสูตร ทำไมถึงบอกว่าสำคัญยิ่ง ก็เพราะว่า หลักสูตร จะเป็นกรอบการทำงานของโรงเรียน เป็นภารกิจผูกพัน ของผู้ให้บริการทางการศึกษาว่า นักเรียนจะเรียนอะไร มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ และเกณฑ์การประเมินผล คือ อะไร มีกฎเกณฑ์ ตามกฎหมายอย่างชัดเจน
หลักสูตร มอนเตสโซรี่ ก็เช่นกัน เป็นหลักสูตรที่มีลักษณะเป็น Spiral curriculum จึงเรียนเสริมเพิ่ม และลึกขึ้นไปเรื่อยๆ เป็นหลักสูตรแบบบูรณาการ ไม่ใด้แยกสอนเป็นชิ้นๆ อีกจุดเด่นหนึ่งคือ อุปกรณ์ การเรียนการสอน ที่มีความลึกซึ้ง ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจ เป็นอุปกรณ์ที่ดึงดูดอยากหยิบจับมาเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งต่างกับ “ของเล่น” เพราะของเล่นดึงดูดและน่าสนใจ แต่ไม่ใด้มีลักษณะ “ต่อยอด” การเรียนรู้แบบอุปกรณ์การเรียนการสอน ของ มอนเตสโซรี่
นอกเหนือจาก หลักสูตร และอุปกรณ์การเรียนการสอนแล้ว คุณครูผู้จบหลักสูตร “ครูมอนเตสโซรี่”ก็เป็นส่วนสำคัญในการสร้างบรรยากาศการเรียนการสอน การบริหารจัดการในห้องเรียน ซึ่งต้องมีความเข้าใจในหลักปรัชญามอนเตสโซรี่ ที่คุณครูมอนเตสโซรี่ยึดถืออย่างมั่นคง ไม่ว่า “Respect the Child” ”Absorbent mind ” และ “Sensitive Period” ซึ่งเป็น ” แก่นความจริงที่เป็นสากล ” ในเชิงพัฒนาการเด็ก จิตวิทยาเด็ก ซึ่งคุณครูทุกคน ต้องเรียนเมื่อผ่านหลักสูตรครูมา ดังนั้นในห้องเรียน มอนเตสโซรี่ จึงมีการ ”Prepared Environment” และเรียกครูว่า ”Directress” คือผู้อำนวยการ ความพร้อมสำหรับการเรียนรู้ สำหรับเด็กๆ เตรียมพร้อมในทุกสิ่ง ทั้งอุปกรณ์การเรียนการสอน พร้อมทั้งตั้งอยู่ในระดับที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เอื้อให้เด็กสร้างแรงจูงใจ ในการเรียนรู้อย่าง “ธรรมชาติ” ซึ่งมีแรงขับ “การแสวงหา” การเรียนรู้ ความอยากรู้อยากเห็น ในธรรมชาติ ในตัวเด็กๆ ทุกคน อยู่แล้ว ระบบโรงเรียนบางระบบต่างหากที่บั่นทอน “ธรรมชาติการแสวงหาความรู้” ของเด็กจนหมดสิ้น กลายเป็นคนตัวเล็ก – ลีบ ลงไปทุกที ในขณะที่ระบบ มอนเตสโซรี่ นั้นเราเตรียมสิ่งแวดล้อม ให้พร้อมสำหรับการเรียนรู้ เราส่งเสริม “เสรีภาพภายใต้ขอบเขต” (Freedom with boundary) ดั้งนั้น ห้องเรียนของมอนเตสโซรี่จึงประกอบด้วย ภารกิจของคุณครูที่อำนวยความพร้อม ประกอบกับหลักสูตรฯ , อุปกรณ์การเรียนการสอน , บรรยากาศที่เอื้ออำนวยภายใต้การจัดการ จึงสามารถส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ในจังหวะก้าวของตัวเอง เป็นรายบุคคล ได้จริงสำหรับเด็กทุกๆคน ซึ่ง ”Set for success” สิ่งที่นักเรียนได้รับคือ เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน ไม่ได้รู้สึกยากเย็นในการเรียนรู้ เด็กจึงเกิด คุณสมบัติที่เป็น ผู้มีความมั่นใจในตนเองได้จริง เรียนรู้ภายใต้ ศักยภาพของตัวเอง ในจังหวะที่ก้าวหน้า เร็ว-ช้า ต่างกันได้โดยปราศจากการเปรียบเทียบแข่งขัน มาเป็นรางวัลล่อใจ เพราะความสำเร็จและความสุข ที่เด็ก ได้นั้น เป็นความสุข ปลื้มปิติ “ภายใน” ของเด็กแต่ละคน ไม่จำเป็นต้องพึ่งพา “รางวัล” จากภายนอก
ขอกลับมาตอบคำถามทีละข้อ เลยนะคะ
1. คุณครูจะต้องรู้จักเด็กทุกคน อย่างดีในทุกรายละเอียด เพราะคุณครูจะเป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ และเป็นผู้เตรียมความพร้อม ให้เด็กใด้รับผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายอยู่ในใจของคุณครูที่อ้างอิงกับหลักสูตรอยู่ และคุณครูจะเป็นผู้อนุญาตให้ การดำเนินการเรียนรู้ของนักเรียน ดำเนินการไปโดย “เป็นไปเอง” คือเป็นธรรมธรรมชาติ เพราะเด็กเรียนรู้แบบซึมซับ “Absorb Every things without effort ” เด็กเรียนรู้เองจากอุปกรณ์การเรียนการสอน จากการแสวงหาความรู้ และเกิดความภาคภูมิใจที่ก่อเกิดขึ้น เด็กสัมผัสได้เอง ไม่ใช่การเรียนรู้แบบ “ผู้ให้-ผู้รับ” เด็กยิ่งได้รับ “อิสระ” มากเท่าไร่เด็กก็สามารถเป็นตัวของตัวเองได้มากขึ้นเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องมี “ผู้ควบคุม” ใด ๆ แต่หากเกิดประเด็นที่เด็ก ทำซ้ำสิ่งเดียว ไม่ใด้ทำงานกับชิ้นอุปกรณ์อื่นเลย (โดยปกติไม่เป็นเช่นนั้น) คุณครูก็จะเป็นผู้โน้มน้าว ให้นักเรียนเบนไปกับสิ่งอื่น เพื่อเตรียมเด็ก ให้ “ทั่วถึงพร้อมในทุก ๆ ด้าน” คุณครูต้องทำการสังเกตการณ์ และเก็บข้อมูลจดบันทึกทุกๆ สิ่งที่เกิดขึ้น ตลอดเวลา ที่อยู่กับเด็ก
การสังเกตการณ์ เพื่อจดบันทึกความก้าวหน้าของเด็ก เกิดขึ้นตลอดเวลา จนยืนยันผลสัมฤทธิ์ ไม่ใช่เฉพาะชิ้นงาน ซึ่งเป็น Finished products หรือ คะแนนจากการสอบ เป็นตัวยืนยัน หรือวัดผล ประเมินผลเด็กนักเรียน คุณครูจะเป็นผู้สนใจ ในรายละเอียด ตลอดกระบวนการ การเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ของผู้เรียนตลอดเวลา
2. ห้องเรียนแบบมอนเตสโซรี่ ต้องการให้เด็กเรียนรู้จากเด็กที่โตกว่า จึงมีการคละอายุ คือเน้นเป็นห้องเรียนแบบช่วงชั้น เด็กเล็กเรียนจากเด็กโต เด็กโตมีโอกาสแสดงตัวเป็นผู้นำในชั้นปีสุดท้าย ในช่วงชั้นนั้นยิ่งเสริมความเชื่อมั่นและเป็นตัวของตัวเองให้กับเด็กก่อนจบการศึกษาในช่วงชั้นนั้น ๆ และอย่างที่กล่าว ตอนต้นว่า การเรียนการสอนอยู่ในกรอบของหลักสูตร มี scope / sequence ของสาระการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน เพราะเด็ก ๆ จะทำงานตามศักยภาพเป็นรายบุคคล การ present material กับเด็ก (อย่างที่เห็นตอนคุณครูทำงานกับนักเรียน) จะเป็นช่วงเวลาที่สำคัญ เพราะเป็นช่วงที่สมาธิและความตั้งใจทั้งหมดอยู่ที่งาน (ซึ่งเป็นงานที่ไม่ยากเกินความสามารถเด็กและไม่ง่ายจนน่าเบื่อ แต่ต้องเป็นงานที่เร้าใจ และเด็กอยากทำ) เด็กจะได้ฝึกความมุ่งมั่นและใส่ใจในงานอย่างมีสมาธิเข้มฃ้นและเด็กเป็นผู้ได้ลงมือทำ (ไม่ใช่นั่งฟัง) จังหวะเมื่อไร เป็นช่วงเหมาะสม เมื่อเด็กพร้อมเป็นช่วงสำคัญยิ่ง เพราะคุณครูต้องการให้ทุกชิ้นงานถูกนำเสนอในเวลาที่เหมาะเจาะอย่างยิ่งให้เด็ก (1) ประทับใจ และ (2) ถัดมา อยากทำซ้ำเอง จน (3) เกิดความชำนาญ แล้วเปลี่ยนไปสู่ชิ้นอุปกรณ์ที่ก้าวหน้าต่อไป จนเกิดเป็นการกระบวนการเรียนรู้ และเหล่านี้คือสิ่งที่คุณครูต้องจดบันทึกความก้าวหน้าฃองเด็กตลอดเวลา
ความเป็นห่วงว่าคุณครูเห็นหรือไม่ การที่ต้องมีสมาธิกับนักเรียนคนหนึ่ง ของ Present material อยู่ นั่นคือทำไมจึงมีคุณครูผู้ช่วยอีกหนึ่งท่านในห้องเรียนเสมอทุก ๆห้องเรียนมอนเตสโซรี่ทั่วโลก ส่วนข้อที่ว่า เด็กเรียนรู้กับอุปกรณ์หมดทุกอย่างก่อน 3 ปี นั้นความจริงภายในห้องยังมีอุปกรณ์ที่คาบเกี่ยวกับงาน ป.1 อยู่ด้วย แต่คุณครูจะเป็นผู้ประเมินความพร้อมทั้งด้านวิชาการ และด้านสังคม หรือหากเด็กมีความพร้อมอย่างแท้จริง เด็กก็สามารถเลื่อนชั้นได้ แต่ถ้าเด็กช้ากว่าเกณฑ์ก็อาจต้องอยู่นานขึ้นเช่นกัน เราไม่ได้ประเมินจากแค่อายุเด็กแล้ว พิจารณาเลื่อนชั้น จะดูจากศักยภาพเด็กในทุกด้านอย่างที่กล่าวไว้
3. เด็กจะถูกโน้มน้าวให้ได้เรียนรู้อย่างรอบด้าน แต่ก็มีอิสระที่จะทำงานด้านใดบางด้านมากกว่าด้านอื่นด้วยเช่นกัน เพราะเด็กแต่ละคนย่อมมีอัตตลักษณ์ของตนเอง แต่คุณครูก็จะไม่ปล่อยให้ขาดพร่องในบางด้านด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะเด็กในระดับเล็ก ต้องเตรียมให้เด็กได้มีโอกาสเลือกอย่างแท้จริงเสียก่อนตัดสินว่า ศักยภาพสูงสุดในด้านใดจะถูกส่งเสริมเป็นพิเศษ
4. ส่วนตารางเวลาและการประเมินผลนักเรียนนั้น
เราเริ่มวันจันทร์ของสัปดาห์ เวลา 08.00 น. เคารพธงชาติพร้อมกันทั้งโรงเรียน นักเรียนอนุบาลได้เล่นสนามช่วงเช้าจนถึง เวลา 08.30 น. จึงเข้าเรียนและเริ่มด้วยกิจกรรมวงกลมรวมกันทั้งห้องก่อนแยกย้ายกันทำงาน เวลา 9.00-11.30 น. เด็ก ๆ จะทานอาหารกลางวัน(11.30น.) และเล่นอิสระที่สนามจนถึงเวลา 13.00 น. ส่วนช่วงบ่ายจะเน้นกิจกรรมกลุ่ม ไม่เหมือนงานในช่วงเช้า บ่ายแต่ละวันจะมีกิจกรรมศิลปะ, ห้องสมุด, Music and movement, Thai culture, Physical Education, ส่วนเด็กเล็กยังต้องมีเวลานอนตอนบ่ายด้วย จนถึงเวลากิจกรรมวงกลมร่วมกันอีกครั้ง เวลา 14.45 น. และเลิกเรียนเวลา 15.00 น.
ส่วนการประเมินผลนักเรียนจะมีการประเมินกับทุกภาคการศึกษา และมีสมุดรายงาน 2 เล่มต่อปี การประเมินผลจะเป็น parent-teacher conference 2-3 ครั้ง ต่อปี ในช่วงแต่ละปลายภาคเรียน ซึ่งผู้ปกครองจะได้พบปะคุณครูเพื่อพูดคุยและรับแจ้งข้อรายละเอียดของนักเรียนในเวลาดังกล่าว แต่หากผู้ปกครองมีข้อซักถามหรือความห่วงใยใด ๆ ต่อนักเรียนสามารถพบปะพูดคุยได้หลังเลิกเรียนในทุกวัน หรือหากเป็นข้อหารือที่เป็นประเด็นสำคัญต้องการนัดพบปะกัน Education Council ของโรงเรียน ก็สามารถนัดหมายผ่านสำนักงานโรงเรียน เพื่อพบกับกรรมการโรงเรียนได้เช่นกัน
Subscribe to:
Posts (Atom)