Reprinted from GREEN MONEY JOURNAL winter08/09
Our system of schooling was shaped by a particular worldview, a mechanistic/technocratic mindset that gave rise to the age of industrial and imperial expansion that began in the mid-nineteenth century. It is increasingly apparent that this historical era has spent its creative energies and is now on the verge of decline. Another worldview is emerging, one concerned with sustainability, interconnectedness, and celebration of human diversity. It is a holistic worldview, which brings with it entirely different ideas about education.
The growing interest in educational alternatives-Montessori and Waldorf schools, homeschooling, “democratic” schools, Quaker education, charter schools and various other approaches-represents a leaderless, self-organizing revolution riding the incoming wave of this new worldview. I think it is a genuine social movement, which will eventually replace our current system of schooling with a decidedly different form. Unlike the standardized routines of industrial-age schooling, these alternatives engage young people in an active, meaningful, caring relationship to the world and encourage them to participate in building a just, compassionate, sustainable culture.
Although the movement comprises diverse educational methods, it is unified by five foundational principles:
1) Respect for every person
Maria Montessori said it well: the child is the builder of a unique human personality, driven by a creative force from within to engage the world inquisitively and purposefully. Human beings are naturally endowed with both the capacity and the imperative to fashion an individuality that will experience and live in the world in ways that no other does, and we require autonomy and security in order to fully achieve this potential. We carry the seeds of our highest aspirations and potential evolution within our own hearts. The purpose of education is to nourish these seeds.
2) Balance
The education revolution reflects an openness to the complexity of life. To live in balance means holding our beliefs with humility, remaining open to aspects of reality that are dissonant or surprising, recognizing that all manifestations of reality are contingent rather than final. This principle enjoins us to approach each learner with sensitivity and flexibility, not with ideology and method. A public system of education seeking for balance would no longer be a coercive monoculture; it would provide diverse alternatives representing various philosophical and cultural possibilities.
3) Decentralization of authority
Today, truly important decisions that affect the lives of millions are made by political and corporate elites, not by citizens engaged in public deliberation. The standardization of schooling, the frenzied pursuit of accountability that leads to prescribed curricula and textbooks and relentless testing, was not driven by those most intimately involved in the educational endeavor -teachers, parents or young people-but by corporate CEOs and powerful foundations and the mass media. No Child Left Behind (sic) is the educational policy of a technocratic empire. The educational alternatives movement represents a striving for grassroots, participatory democracy-decision making on a human scale.
4) Noninterference between political, economic, and cultural spheres of society
Philosopher Rudolf Steiner (the founder of Waldorf education) argued that a society is healthiest when its three primary functions or spheres-economic, political, and cultural-are allowed to maintain their own integrity, without interference from the others. He observed that in modern times, economic enterprise has spilled over its proper boundaries, so that every aspect of our lives, including education, has become a commodity-something with a market value rather than intrinsic value. The education revolution seeks to return teaching and learning to the cultural sphere of freedom and creativity. Those who have left public schooling for independent alternative schools or homeschooling are not simply out to privatize the educational system, for this is still to treat learning as a commodity in the marketplace. Rather, they are intuitively responding to the awareness that genuine learning is an organic, spontaneous, and deeply meaningful encounter that requires autonomy from the political and economic forces that have taken over public education.
5) A holistic worldview
From a holistic perspective, the primary goal of education is not to transmit authorized portions of knowledge but to help students experience a sense of wonder and passionate interest in the world, along with habits of open-ended inquiry and critical reflection. Possessing these qualities, holistically educated people can engage the world purposefully, creatively, and transformatively.
Taken together, these five principles constitute a thorough rethinking of the assumptions and beliefs underlying the present system of schooling.
Article by Ron Miller, Educator, Writer
Dr. Ron Miller has been involved in the educational alternatives movement for more than twenty years. He has written or edited nine books; this essay is adapted from his latest one: The Self-Organizing Revolution. He has founded two journals and is currently editor of Education Revolution magazine, published by the Alternative Education Resource Organization ( http://www.edrev.org ). Ron established the Bellwether School in Vermont and is now helping to organize a Quaker school there. Meanwhile, he teaches history at Champlain College. His contact information and writings are featured at http://www.pathsoflearning.net
เรียนผู้เข้าเยี่ยมชมทุกท่าน ผู้สร้างหวังให้เป็นพื้นที่สำหรับผู้สนใจ การศึกษาทางเลือกแบบ มอนเตสโซรี่ ได้ใช้เป็นที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และใช้ประโยชน์ในเชิงสร้างสรรค์ สร้างองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อการพัฒนา ประยุกต์แนวการศึกษามอนเตสโซรี่นี้กับแนวการศึกษาของบ้านเรา ในบริบทไทยเรา
9/08/2010
บทสรุปจากภาคกลาง
การเสวนาการศึกษาทางเลือกในวันที่ 6-7 สค. 2553 ณ วัดอินทราชัย จ.กาญจนบุรี
บันทึกอนุทิน โดย สุวิมล สถิตย์สุขเสนาะ
เค้าโครงทิศทางในการประสานกันเป็นเครือข่ายฯ ในการสร้างจุดร่วม การประสานร่วมมือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ต่อยอดองค์ความรู้ แบ่งปันแหล่งเรียนรู้ โดยไม่ละทิ้งอัตตลักษณ์ตามเงื่อนไขของแต่ละพื้นที่ หรือข้อจำกัดเฉพาะที่หลากหลายของแต่ละพื้นที่ ดังนั้นการเคลื่อนตัวในระดับประเทศ จึงต้องมีการผลักดันสู่กระบวนการทางกฏหมาย มี พ.ร.บ รองรับให้ชัดเจน ซึ่งเป็นภาระหน้าที่แห่งรํฐในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อพัฒนา ทุนด้านมนุษย์ เพื่อเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์พร้อมตามสิทธิแห่งรัฐธรรมนูญ ดังนั้นภาระกิจที่ภาครัฐควรเอื้อประโยชน์ให้เกิดต่อการพัฒนาการศึกษาทางเลือกในเบื้องต้นนั้น แม่แอ้ว คุณรัชนี ธงไชย ได้กล่าวไว้ว่า........
1. โรงเรียนในเขตพื้นที่ทุกแห่งต้องรองรับ และยอมรับ การจัดการศึกษาทางเลือก ไม่ใช่ถูกจำกัดสิทธิเพราะความไม่รู้ ไม่เข้าใจของภาครัฐ
2. การประเมินผลสัมฤทธิ์นั้นต้องเปิดกว้างและหลากหลาย
3. ต้องมีงบประมาณอุดหนุน ที่เป็นรายหัว และ การสร้างศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วยตนเอง ศูนย์การเรียนรู้อิเล็กทรอนิคส์( internet) และแหล่งพิพิทธภัณฑ์
4. ต้องพัฒนาหลักสูตรใหม่ จากเดิมใช้สูตร 70:30 (หลักสูตรแกนกลาง:หลักสูตรท้องถิ่น) ควรเป็น 30:70ซึ่งใน 70 นี้ ส่วน 30 ต้องเป็นการเรียนรู้ความเป็นหน้าที่พลเมืองโลก สิทธิเสรีภาพ หน้าที่พลเมืองในชุมชน การเมืองในระดับต่างๆ (global/local) ส่วนอีก 40 นั้นต้องเป็นไปตามเด็ก ถือเด็กเป็นพื้นฐาน เป็นสำคัญรวมไปถึงศักยภาพเป็นรายบุคคล ซึ่งแบ่งส่วน 10 % ให้เด็กเป็นผู้เสนอตามความสนใจของเด็กเอง
ทั้งนี้คุณชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ก็ยังได้กล่าวเสริมให้ความเห็นว่า การขับเคลื่อนให้ได้เป็นจริงและมีพลัง ก็ต้องทำให้ ทุกหน่วยและภาคส่วนที่เข้าร่วม มีความพร้อม และความเข้าใจ เพื่อผลักดันกฏหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ให้เกิดช่องว่างขึ้น ซึ่งสิ่งนี้ต้องใช้เวลา และมีคณะทำงานที่มีความเข้าใจในการทำงานในรายละเอียดต่างๆ
ส่วนการแลกเปลี่ยนพูดคุยเรื่อง การพัฒนาเด็ก การเรียนรู้ของเด็ก การเตรียมความพร้อมแก่เด็กนั้น การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้แก่เด็กนั้น มีประเด็นปัญหาต่างๆ เช่น .....
คุณวอด ได้กล่าวถึงโรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่สามารถจัดให้การบริการทางการศึกษาแก่เด็กได้ ในการจำกัดความของโรงเรียนเต็มรูปแบบของรัฐ เพราะภาครัฐขาดความเข้าใจและไม่สามารถคิดนอกกรอบได้ จึงติดยึดกับ การจัดแบ่งการเรียนเป็นรายชั้นปี หรือ ติดยึดเรื่องหลักสูตร เรื่องครูผู้สอน จึงเป็นการขาดแคลนทรัพยากร อีกทั้งเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้ดำเนินการ ความมีอัตตาอยู่มาก ยังขาดแก่นพุทธ ยังขาดการพัฒนาอยู่ การศึกษาทางเลือกจึงควรเป็นการสร้างโอกาสในการแก้ปัญหาเหล่านี้ โดยเฉพาะ ข้อพูดคุยเพิ่มเติมของผู้เขียน ได้ขยายความเรื่องนี้ ในแนวปรัชญามอนเตสโซรี่ไว้ว่า เป็นแนวที่ส่งเสริมศักยภาพเด็กเป็นรายบุคคล เป็นการให้เครื่องมือในการแสวงหาความรู้แก่เด็ก การจัดสภาพแวดล้อมแก่การเรียนรู้แก่เด็ก เช่นการจัดการศึกษาที่คละอายุเด็ก การเรียนร่วมกัน 3 ชั้นปี การจัดหลักสูตรแบบ spiral curriculum ไม่ใช่การจัดเป็นชิ้น เป็นเสี้ยวไม่ปะติดปะต่อกัน เป็นการตอบโจทย์เรื่องการบริหารจัดการและเรื่องหลักสูตร สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก
อีกทั้งการขยายความของ ดร.คำแก้ว ไกรสรพงษ์ นายกสมาคมโรงเรียนมอนเตสโซรี่ (สมาคมส่งเสริมการเรียนรู้เด็กเป็นสำคัญ) ได้นำหลักการนี้ไปใช้กับผู้สูงอายุ โดยทำงานร่วมกับ ผศ.พญ.รวิวรรณ นิวาตพันธุ์ ซึ่งทดลองใช้กิจกรรมของมอนเตสโซรี่กับผู้สูงอายุหลงลืม กับผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม อย่างได้ผล การเรียนรู้ของเด็กก็เช่นเดียวกับผู้สูงอายุที่ต้องการการพัฒนา โดยการจัดกิจกรรม และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับกับการเรียนรู้ของผู้เรียน
คุณสมภพได้ยกประเด็นการเตรียมเด็กให้เข้มแข็งต่อสิ่งยั่วยุและเกมส์คอมพิวเตอร์ได้อย่างไร? ในโลกโลกาภิวัฒน์ที่เกิดขึ้น ซึ่งไม่ได้เป็นปัญหาเฉพาะของเด็กในเมืองเท่านั้น ในถิ่นฐานชายขอบเองก็ถูกสื่ออิเล็กทรอนิคส์นี้คุกคามและไม่เท่าทัน กลายเป็นปัญหาต่างๆมากมาย
ผู้เขียนได้แสดงความเห็นเรื่องการสร้างวินัยในเด็ก และการสร้างการตระหนักรู้ในเด็ก เป็นภูมิคุ้มกันแก่เด็ก เฉกเช่นการสั่งสม บุญ-วาสนา ของเด็ก ในแนวแก่นพุทธะ ที่ถูกต้อง ไม่ใช่การแข่งกันโอ้อวดด้วยวัตถุ ทรัพย์สินเงินทอง ด้วยความเข้าใจและติดยึดกับวัตถุ และเข้าใจว่านั่นเป็น วาสนาดีจากชาติปางก่อน ถ้าเราเตรียมการเรียนรู้ที่เหมาะ และตรงกับวัยของเด็ก เป็นการเตรียมพร้อมให้แก่เด็ก เป็นการปลูกฝังวินัยเหล่านั้น ซึ่งเป็นภาระกิจของผู้จัดบริการการศึกษา เมื่อเราได้เตรียมเด็กดีแล้ว เราจึงจะได้เยาวชนที่รู้เท่าทันในเทคโนโลยี เป็นผู้ใช้เทคโนโลยี มีโอกาสเป็นผู้สร้าง ผู้ผลิต ไม่ใช่เป็นแต่ผู้เสพเทคโนโลยี โดยเฉพาะในวงการบันเทิงซึ่งตรงกับจริตของวัยรุ่น วัยท้าทายและทดลอง ดังนั้น การจัดการศึกษาที่มีแก่นพุทธะ ที่แท้ ไม่ใช่เฉพาะแต่รูปแบบ และพิธีกรรม แต่ต้องมุ่งพัฒนาไปสู่ ปัญญา ที่แท้จริง ดังคำเทศนาของท่านพรหมคุณาภรณ์ จึงเป็นหนทางพัฒนาที่ถูกต้องและยั่งยืน พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งอนาคต
จึงขอเพิ่มเติมข้อเขียน เรื่อง บุญ จากหนังสือของพระอาจารย์มหาคารม อุตตมปญโญ : ธรรมะชนะชาตา เพื่อช่วยให้เด้กๆของเราได้สะสมบุญ-วาสนา ในแนวความคิดที่ถูกต้องตรงตามแก่นพุทธะกัน
การสั่งสมบุญ-วาสนา
การเรียนรู้ในแนวปรัชญามอนเตสโซรี่ที่มุ่งสร้างให้เด็กมีวินัยในตนเอง มีความเชื่อมั่นและศรัทธาในคุณธรรม ความดีงาม ในการที่ ครูมอนเตสโซรี่ยึดหลักการ Respect the child ในช่วงอายุ 0-6 ปี เป็นช่วงของ Absorbent mind สอดคล้องกับหลักพุทธที่ให้คุณค่าของการสั่งสมบุญ-วาสนา ที่ทางธรรมเรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ (พระอาจารย์มหาคารม อุตตมปญโญ : ธรรมะชนะชาตา)มี 10 วิธี คือ
1. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ทาน คือ การให้ การแบ่งปัน การเสียสละ ผู้คนถ้าไม่ระมัดระวัง จะทำให้อำนาจความโลภในวัตถุสิ่งของ ทรัพย์สมบัติต่างๆเข้าครอบงำจิตใจได้โดยง่าย เพราะฉะนั้น เราจะต้องฝึกขจัดอำนาจครอบงำของวัตถุเหล่านั้นออกไปเสียก่อน
2. ศีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล คือ มีชีวิตที่ไม่เบียดเบียนทำร้ายใคร ไม่ทุจริตลักขโมยของใคร ไม่แย่งของรักใคร ไม่โกหกหลอกลวงใคร ไม่ขาดสติ ดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่แปดเปื้อนด้วยบาป
3. ภาวนามัย บุญสำเร็จได้ด้วยการเจริญภาวนา คือ ทำจิตใจให้ผ่องใส ทำใจให้สงบ ภาวนา หมายถึง การทำให้เกิดมีขึ้น เจริญขึ้น เช่น สวดมนต์ภาวนา สมาธิภาวนา เป็นการทำให้จิตใจสงบและเจริญขึ้น ปัญญางอกงามขึ้น
4. อปจายนมัย บุญสำเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตน คือ การไม่กระด้าง ไม่ถือตัว ไม่ดื้อดึง ไม่ว่านอนสอนยาก คนเราส่วนใหญ่จะยึดถือตนเอง เอาตนเองป็นศูนย์กลาง ยึดความคิดเห็นของตัวเองเป็นใหญ่ ทำให้เกิดทิฏฐิมานะกันเป็นจำนวนมาก
5. ไวยยาวัจจมัย บุญสำเร็จด้วยการขวนขวายในกิจที่ชอบ คือ เป็นคนที่มีความขวนขวาย ไม่นิ่งดูดาย อยู่ที่ไหนไม่นิ่งเฉย ทำตัวเองให้เป็นประโยชน์ เท่านี้ก็ได้บุญแล้ว
6. ปัตติทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ คือ เมื่อทำบุญ ได้บุญแล้ว ก็ให้ส่วนบุญอีกก็ได้บุญเพิ่มอีก เพราะเป็นการให้ เป็นการสละอย่างหนึ่งเหมือนกัน ในการทำบุญ ท่านทำบุญกุศลเสร็จแล้ว ก็อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลแผ่เมตตาให้แก่สรรพสัตว์ ก็ยิ่งได้บุญ
7. ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนา คือ คนอื่นเขาทำความดี คนอื่นมีความเจริญรุ่งเรือง เราพลอยร่วมยินดีกับเขา ยินดีในบุญที่เขาทำ อนุโมทนา แปลว่า พลอยยินดี เมื่อคนอื่นมีความสุขความเจริญรุ่งเรือง บำเพ็ญบุญกุศล ทำความดีอะไร เราพลอยยินดีไปกับเขาด้วย ช่วยสนับสนุนได้ก็ช่วย ไม่อิจฉาริษยา
8. ธัมมัสวนมัย บุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม การฟังธรรม ทำให้ได้รู้ในสิ่งที่ยังไม่รู้ สิ่งที่รู้แล้วแต่ยังสงสัยย่อมทำให้แจ่มแจ้ง ทำจิตให้สงบ ฟังธรรมแล้วได้คติสอนใจ ได้สิ่งที่เป็นสาระประโยชน์
9. ธัมมเทศนามัย บุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม การแสดงธรรมไม่ใช่เป็นเรื่องของพระเท่านั้น การแนะนำลูกหลาน เพื่อนพ้อง ผู้ร่วมงาน แนะนำเขาทำความดี ละเว้นความชั่ว นี่เป็นการแสดงธรรมแล้ว หรือไม่ต้องเป็นธรรมทานโดยตรงก็ได้ เรียกว่า วิทยาทาน คือ ให้ความรู้เป็นทาน ก็ได้บุญแล้ว
10. ทิฏฐุชุกรรม การทำความเห็นให้ตรง คือ มีความเห็นถูกต้อง หมายถึงเชื่อว่าบุญมีจริง บาปมีจริง มีความเห็นตรงตามสัจธรรม คือ ความจริงแท้ ถ้าไม่เชื่อสิ่งเหล่านี้ ไม่มีบุญ ไม่มีบาป เขาก็ไม่ทำสิ่งที่เป็นบุญกุศล
คนส่วนใหญ่รู้จักแค่ทานเท่านั้น ทำกันแต่เรื่องทาน ส่วนเรื่องศีล เรื่องภาวนาไม่ค่อยได้ทำ ยิ่งบุญข้อ 4-10 ยิ่งไม่ให้ความสำคัญกันนัก บุญนี้ทำได้หลายอย่างหลายทาง อะไรที่เป็นความดี ทุกอย่างที่เป็นความดีล้วนเป็นบุญทั้งสิ้น
บันทึกอนุทิน โดย สุวิมล สถิตย์สุขเสนาะ
เค้าโครงทิศทางในการประสานกันเป็นเครือข่ายฯ ในการสร้างจุดร่วม การประสานร่วมมือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ต่อยอดองค์ความรู้ แบ่งปันแหล่งเรียนรู้ โดยไม่ละทิ้งอัตตลักษณ์ตามเงื่อนไขของแต่ละพื้นที่ หรือข้อจำกัดเฉพาะที่หลากหลายของแต่ละพื้นที่ ดังนั้นการเคลื่อนตัวในระดับประเทศ จึงต้องมีการผลักดันสู่กระบวนการทางกฏหมาย มี พ.ร.บ รองรับให้ชัดเจน ซึ่งเป็นภาระหน้าที่แห่งรํฐในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อพัฒนา ทุนด้านมนุษย์ เพื่อเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์พร้อมตามสิทธิแห่งรัฐธรรมนูญ ดังนั้นภาระกิจที่ภาครัฐควรเอื้อประโยชน์ให้เกิดต่อการพัฒนาการศึกษาทางเลือกในเบื้องต้นนั้น แม่แอ้ว คุณรัชนี ธงไชย ได้กล่าวไว้ว่า........
1. โรงเรียนในเขตพื้นที่ทุกแห่งต้องรองรับ และยอมรับ การจัดการศึกษาทางเลือก ไม่ใช่ถูกจำกัดสิทธิเพราะความไม่รู้ ไม่เข้าใจของภาครัฐ
2. การประเมินผลสัมฤทธิ์นั้นต้องเปิดกว้างและหลากหลาย
3. ต้องมีงบประมาณอุดหนุน ที่เป็นรายหัว และ การสร้างศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วยตนเอง ศูนย์การเรียนรู้อิเล็กทรอนิคส์( internet) และแหล่งพิพิทธภัณฑ์
4. ต้องพัฒนาหลักสูตรใหม่ จากเดิมใช้สูตร 70:30 (หลักสูตรแกนกลาง:หลักสูตรท้องถิ่น) ควรเป็น 30:70ซึ่งใน 70 นี้ ส่วน 30 ต้องเป็นการเรียนรู้ความเป็นหน้าที่พลเมืองโลก สิทธิเสรีภาพ หน้าที่พลเมืองในชุมชน การเมืองในระดับต่างๆ (global/local) ส่วนอีก 40 นั้นต้องเป็นไปตามเด็ก ถือเด็กเป็นพื้นฐาน เป็นสำคัญรวมไปถึงศักยภาพเป็นรายบุคคล ซึ่งแบ่งส่วน 10 % ให้เด็กเป็นผู้เสนอตามความสนใจของเด็กเอง
ทั้งนี้คุณชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ก็ยังได้กล่าวเสริมให้ความเห็นว่า การขับเคลื่อนให้ได้เป็นจริงและมีพลัง ก็ต้องทำให้ ทุกหน่วยและภาคส่วนที่เข้าร่วม มีความพร้อม และความเข้าใจ เพื่อผลักดันกฏหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ให้เกิดช่องว่างขึ้น ซึ่งสิ่งนี้ต้องใช้เวลา และมีคณะทำงานที่มีความเข้าใจในการทำงานในรายละเอียดต่างๆ
ส่วนการแลกเปลี่ยนพูดคุยเรื่อง การพัฒนาเด็ก การเรียนรู้ของเด็ก การเตรียมความพร้อมแก่เด็กนั้น การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้แก่เด็กนั้น มีประเด็นปัญหาต่างๆ เช่น .....
คุณวอด ได้กล่าวถึงโรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่สามารถจัดให้การบริการทางการศึกษาแก่เด็กได้ ในการจำกัดความของโรงเรียนเต็มรูปแบบของรัฐ เพราะภาครัฐขาดความเข้าใจและไม่สามารถคิดนอกกรอบได้ จึงติดยึดกับ การจัดแบ่งการเรียนเป็นรายชั้นปี หรือ ติดยึดเรื่องหลักสูตร เรื่องครูผู้สอน จึงเป็นการขาดแคลนทรัพยากร อีกทั้งเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้ดำเนินการ ความมีอัตตาอยู่มาก ยังขาดแก่นพุทธ ยังขาดการพัฒนาอยู่ การศึกษาทางเลือกจึงควรเป็นการสร้างโอกาสในการแก้ปัญหาเหล่านี้ โดยเฉพาะ ข้อพูดคุยเพิ่มเติมของผู้เขียน ได้ขยายความเรื่องนี้ ในแนวปรัชญามอนเตสโซรี่ไว้ว่า เป็นแนวที่ส่งเสริมศักยภาพเด็กเป็นรายบุคคล เป็นการให้เครื่องมือในการแสวงหาความรู้แก่เด็ก การจัดสภาพแวดล้อมแก่การเรียนรู้แก่เด็ก เช่นการจัดการศึกษาที่คละอายุเด็ก การเรียนร่วมกัน 3 ชั้นปี การจัดหลักสูตรแบบ spiral curriculum ไม่ใช่การจัดเป็นชิ้น เป็นเสี้ยวไม่ปะติดปะต่อกัน เป็นการตอบโจทย์เรื่องการบริหารจัดการและเรื่องหลักสูตร สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก
อีกทั้งการขยายความของ ดร.คำแก้ว ไกรสรพงษ์ นายกสมาคมโรงเรียนมอนเตสโซรี่ (สมาคมส่งเสริมการเรียนรู้เด็กเป็นสำคัญ) ได้นำหลักการนี้ไปใช้กับผู้สูงอายุ โดยทำงานร่วมกับ ผศ.พญ.รวิวรรณ นิวาตพันธุ์ ซึ่งทดลองใช้กิจกรรมของมอนเตสโซรี่กับผู้สูงอายุหลงลืม กับผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม อย่างได้ผล การเรียนรู้ของเด็กก็เช่นเดียวกับผู้สูงอายุที่ต้องการการพัฒนา โดยการจัดกิจกรรม และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับกับการเรียนรู้ของผู้เรียน
คุณสมภพได้ยกประเด็นการเตรียมเด็กให้เข้มแข็งต่อสิ่งยั่วยุและเกมส์คอมพิวเตอร์ได้อย่างไร? ในโลกโลกาภิวัฒน์ที่เกิดขึ้น ซึ่งไม่ได้เป็นปัญหาเฉพาะของเด็กในเมืองเท่านั้น ในถิ่นฐานชายขอบเองก็ถูกสื่ออิเล็กทรอนิคส์นี้คุกคามและไม่เท่าทัน กลายเป็นปัญหาต่างๆมากมาย
ผู้เขียนได้แสดงความเห็นเรื่องการสร้างวินัยในเด็ก และการสร้างการตระหนักรู้ในเด็ก เป็นภูมิคุ้มกันแก่เด็ก เฉกเช่นการสั่งสม บุญ-วาสนา ของเด็ก ในแนวแก่นพุทธะ ที่ถูกต้อง ไม่ใช่การแข่งกันโอ้อวดด้วยวัตถุ ทรัพย์สินเงินทอง ด้วยความเข้าใจและติดยึดกับวัตถุ และเข้าใจว่านั่นเป็น วาสนาดีจากชาติปางก่อน ถ้าเราเตรียมการเรียนรู้ที่เหมาะ และตรงกับวัยของเด็ก เป็นการเตรียมพร้อมให้แก่เด็ก เป็นการปลูกฝังวินัยเหล่านั้น ซึ่งเป็นภาระกิจของผู้จัดบริการการศึกษา เมื่อเราได้เตรียมเด็กดีแล้ว เราจึงจะได้เยาวชนที่รู้เท่าทันในเทคโนโลยี เป็นผู้ใช้เทคโนโลยี มีโอกาสเป็นผู้สร้าง ผู้ผลิต ไม่ใช่เป็นแต่ผู้เสพเทคโนโลยี โดยเฉพาะในวงการบันเทิงซึ่งตรงกับจริตของวัยรุ่น วัยท้าทายและทดลอง ดังนั้น การจัดการศึกษาที่มีแก่นพุทธะ ที่แท้ ไม่ใช่เฉพาะแต่รูปแบบ และพิธีกรรม แต่ต้องมุ่งพัฒนาไปสู่ ปัญญา ที่แท้จริง ดังคำเทศนาของท่านพรหมคุณาภรณ์ จึงเป็นหนทางพัฒนาที่ถูกต้องและยั่งยืน พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งอนาคต
จึงขอเพิ่มเติมข้อเขียน เรื่อง บุญ จากหนังสือของพระอาจารย์มหาคารม อุตตมปญโญ : ธรรมะชนะชาตา เพื่อช่วยให้เด้กๆของเราได้สะสมบุญ-วาสนา ในแนวความคิดที่ถูกต้องตรงตามแก่นพุทธะกัน
การสั่งสมบุญ-วาสนา
การเรียนรู้ในแนวปรัชญามอนเตสโซรี่ที่มุ่งสร้างให้เด็กมีวินัยในตนเอง มีความเชื่อมั่นและศรัทธาในคุณธรรม ความดีงาม ในการที่ ครูมอนเตสโซรี่ยึดหลักการ Respect the child ในช่วงอายุ 0-6 ปี เป็นช่วงของ Absorbent mind สอดคล้องกับหลักพุทธที่ให้คุณค่าของการสั่งสมบุญ-วาสนา ที่ทางธรรมเรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ (พระอาจารย์มหาคารม อุตตมปญโญ : ธรรมะชนะชาตา)มี 10 วิธี คือ
1. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ทาน คือ การให้ การแบ่งปัน การเสียสละ ผู้คนถ้าไม่ระมัดระวัง จะทำให้อำนาจความโลภในวัตถุสิ่งของ ทรัพย์สมบัติต่างๆเข้าครอบงำจิตใจได้โดยง่าย เพราะฉะนั้น เราจะต้องฝึกขจัดอำนาจครอบงำของวัตถุเหล่านั้นออกไปเสียก่อน
2. ศีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล คือ มีชีวิตที่ไม่เบียดเบียนทำร้ายใคร ไม่ทุจริตลักขโมยของใคร ไม่แย่งของรักใคร ไม่โกหกหลอกลวงใคร ไม่ขาดสติ ดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่แปดเปื้อนด้วยบาป
3. ภาวนามัย บุญสำเร็จได้ด้วยการเจริญภาวนา คือ ทำจิตใจให้ผ่องใส ทำใจให้สงบ ภาวนา หมายถึง การทำให้เกิดมีขึ้น เจริญขึ้น เช่น สวดมนต์ภาวนา สมาธิภาวนา เป็นการทำให้จิตใจสงบและเจริญขึ้น ปัญญางอกงามขึ้น
4. อปจายนมัย บุญสำเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตน คือ การไม่กระด้าง ไม่ถือตัว ไม่ดื้อดึง ไม่ว่านอนสอนยาก คนเราส่วนใหญ่จะยึดถือตนเอง เอาตนเองป็นศูนย์กลาง ยึดความคิดเห็นของตัวเองเป็นใหญ่ ทำให้เกิดทิฏฐิมานะกันเป็นจำนวนมาก
5. ไวยยาวัจจมัย บุญสำเร็จด้วยการขวนขวายในกิจที่ชอบ คือ เป็นคนที่มีความขวนขวาย ไม่นิ่งดูดาย อยู่ที่ไหนไม่นิ่งเฉย ทำตัวเองให้เป็นประโยชน์ เท่านี้ก็ได้บุญแล้ว
6. ปัตติทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ คือ เมื่อทำบุญ ได้บุญแล้ว ก็ให้ส่วนบุญอีกก็ได้บุญเพิ่มอีก เพราะเป็นการให้ เป็นการสละอย่างหนึ่งเหมือนกัน ในการทำบุญ ท่านทำบุญกุศลเสร็จแล้ว ก็อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลแผ่เมตตาให้แก่สรรพสัตว์ ก็ยิ่งได้บุญ
7. ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนา คือ คนอื่นเขาทำความดี คนอื่นมีความเจริญรุ่งเรือง เราพลอยร่วมยินดีกับเขา ยินดีในบุญที่เขาทำ อนุโมทนา แปลว่า พลอยยินดี เมื่อคนอื่นมีความสุขความเจริญรุ่งเรือง บำเพ็ญบุญกุศล ทำความดีอะไร เราพลอยยินดีไปกับเขาด้วย ช่วยสนับสนุนได้ก็ช่วย ไม่อิจฉาริษยา
8. ธัมมัสวนมัย บุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม การฟังธรรม ทำให้ได้รู้ในสิ่งที่ยังไม่รู้ สิ่งที่รู้แล้วแต่ยังสงสัยย่อมทำให้แจ่มแจ้ง ทำจิตให้สงบ ฟังธรรมแล้วได้คติสอนใจ ได้สิ่งที่เป็นสาระประโยชน์
9. ธัมมเทศนามัย บุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม การแสดงธรรมไม่ใช่เป็นเรื่องของพระเท่านั้น การแนะนำลูกหลาน เพื่อนพ้อง ผู้ร่วมงาน แนะนำเขาทำความดี ละเว้นความชั่ว นี่เป็นการแสดงธรรมแล้ว หรือไม่ต้องเป็นธรรมทานโดยตรงก็ได้ เรียกว่า วิทยาทาน คือ ให้ความรู้เป็นทาน ก็ได้บุญแล้ว
10. ทิฏฐุชุกรรม การทำความเห็นให้ตรง คือ มีความเห็นถูกต้อง หมายถึงเชื่อว่าบุญมีจริง บาปมีจริง มีความเห็นตรงตามสัจธรรม คือ ความจริงแท้ ถ้าไม่เชื่อสิ่งเหล่านี้ ไม่มีบุญ ไม่มีบาป เขาก็ไม่ทำสิ่งที่เป็นบุญกุศล
คนส่วนใหญ่รู้จักแค่ทานเท่านั้น ทำกันแต่เรื่องทาน ส่วนเรื่องศีล เรื่องภาวนาไม่ค่อยได้ทำ ยิ่งบุญข้อ 4-10 ยิ่งไม่ให้ความสำคัญกันนัก บุญนี้ทำได้หลายอย่างหลายทาง อะไรที่เป็นความดี ทุกอย่างที่เป็นความดีล้วนเป็นบุญทั้งสิ้น
Subscribe to:
Posts (Atom)